Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle Diagram
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติ เครื่องสําอางพ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา ๑๖ ผู้ซึ่งผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อจัดนิทรรศการ หรือเพื่อใช้
ในการศึกษา วิจัย หรือวิเคราะห์ทางวิชาการ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอรับใบจดแจ้งสําหรับเครื่องสําอาง
มาตรา ๑๘ ถ้าใบรับจดแจ้งชํารุด สูญหาย หรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ให้ผู้จดแจ้งยื่นคําขอรับใบแทนใบรับจดแจ้งต่อผู้รับจดแจ้งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทราบการชํารุด สูญหาย หรือถูกทําลาย
มาตรา ๑๔ ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอาง ต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสําอางต่อผู้รับจดแจ้ง
หมวด ๓ ฉลากเครื่องสําอาง
มาตรา ๒๒ ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย และผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจัดให้มีฉลาก ฉลากของเครื่องสําอางตามวรรคหนึ่ง
มาตรา ๒๓ ในกรณีที่ฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๒ เลขาธิการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งให้ผู้จดแจ้งเครื่องสําอางเลิกใช้ฉลากดังกล่าวหรือดําเนินการแก้ไขฉลากนั้นให้ถูกต้อง
หมวด ๑ คณะกรรมการเครื่องสําอาง
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการเครื่องสําอาง” ประกอบด้วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
มาตรา ๑๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ ตามมาตรา ๑๒ มีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคํา
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียมและกำหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท”
มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และให้นำความในมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารายงานการรับ การจ่าย การเก็บรักษาและวิธีการปฏิบัติอย่างอื่นที่เกี่ยวกับการควบคุมวัตถุออกฤทธิ์ต่อคณะกรรมการทุกหกเดือนของปีปฏิทิน
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๑๖ ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตการขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๗ ผู้อนุญาตอาจอนุญาตให้ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศที่จดทะเบียนในราชอาณาจักร นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณเท่าที่จำเป็นต้องใช้ประจำในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะนั้นได้
มาตรา ๑๔ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
พระราชบัญญัติ โรคติดต่อพ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๒ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ”
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามป
มาตรา ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงเป็นองค์ประชุม
หมวด ๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๕ ให้นําความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
มาตรา ๒๗ การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๖ (๓) (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา ๒๔ ให้คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกมีอํานาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
หมวด ๑ บททั่วไป
มาตรา ๗ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา ๘ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร
มาตรา ๖ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา ๙ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด ให้อธิบดีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศชื่อ อาการสําคัญ และสถานที่ที่มีโรคระบาด
พรบสถานพยาบาล
พ.ศ. 2541
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําปรึกษา ให้ความเห็นและให้คําแนะนําแก่รัฐมนตรี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตําแหน่งคราวละสองปี
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในขอบเขตแห่งหน้าที่
พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค
พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๑๑ ให้กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อยู่ในตำแหน่งคราวละสามปีกรรมการที่พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
มาตรา ๑๓ ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุมการประชุมคณะกรรมการทุกคราวต้องมีกรรมการมาประชุมไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
หมวด ๒ การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม ทั้งนี้ ไม่ว่าข้อความดังกล่าวนั้นจะเป็นข้อความที่เกี่ยวกับแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ หรือลักษณะของสินค้าหรือบริการ
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการใดได้บัญญัติเรื่องใดไว้โดยเฉพาะแล้วให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น และให้นำบทบัญญัติในหมวดนี้ไปใช้บังคับได้เท่าที่ไม่ซ้ำหรือขัดกับบทบัญญัติ
มาตรา ๒๔ ในกรณีที่คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาเห็นว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคและคณะกรรมการว่าด้วยฉลากได้กำหนดให้สินค้านั้นเป็นสินค้าที่ควบคุมฉลากตามมาตรา ๓๐
ส่วนที่ ๓ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
มาตรา ๔๑ ในการดำเนินคดีที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค ให้สมาคมหรือมูลนิธิที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา ๔๐ มีสิทธิฟ้องคดีแพ่ง คดีอาญา และดำเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในคดีเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยส่วนรวมตามลักษณะหรือประเภทคดีที่คณะกรรมการประกาศกำหนดได้
มาตรา ๔๒ นอกจากต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎหมายอื่นแล้ว สมาคมและมูลนิธิที่คณะกรรมการรับรองตามมาตรา ๔๐
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเข้าดำเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค หรือเมื่อได้รับคำร้องขอจากผู้บริโภคที่ถูกละเมิดสิทธิ ซึ่งคณะกรรมการเห็นว่าการดำเนินคดีนั้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคเป็นส่วนรวม คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานอัยการโดยความเห็นชอบของอธิบดีกรมอัยการ
พระราชบัญญัติ
สุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๒
สิทธิผู้ป่วย
มาตรา ๑๗ การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้
มาตราที่ 18 การรักษาด้วยจิตเวชไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทสามารถกระทำได้เมื่อผู้ป่วยยินยอม
ส่วนที่ ๓
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา ๔๐ ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา ๒๙
มาตราที่ 41 เมื่อผู้คุมขังซึ่งได้รับการบำบัดรักษาในระหว่างการ ถึงกำหนดปล่อยตัวให้หัวหน้าสถานที่คุมขังมีหน้าที่ดำเนินการตามมาตรา 40
หมวด ๑ คณะกรรมการ
มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งที่ปรึกษา หรือคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๑๒ สถานบําบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาซึ่งอธิบดีแต่งตั้งประกอบด้วย จิตแพทย์ประจําสถานบําบัดรักษาหนึ่งคน เป็นประธานกรรมการ
มาตราที่ 14 ให้นําความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา๙ และมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับกับคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาโดยอนุโลม
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
หมวดที่ 2 การขออนุญาตยาแผนปัจจุบัน
มาตราที่ 12 ห้ามมิให้ผู้ใดขาย ผลิต หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรไทย
มาตรา 28 ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ
หมวด 1 คณะกรรมการยา
มาตรา 7 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตําแหน่งคราวละสองปี
มาตรา 9การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามขององค์ประชุม
พรบประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อสํานักงานหรือหน่วยงานที่สํานักงานกําหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจํา
มาตรา ๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผูมีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา ๗ บุคคลที่ไดลงทะเบียนแลว ใหใชสิทธิรับบริการสาธารณสุขไดจากหนวยบริการประจําของ
ตนหรือหนวยบริการปฐมภูม
พรบสุขภาพแห่งชาติ
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กําหนดโดยพระราชบัญญัต
บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อสํานักงานหรือหน่วยงานที่สํานักงานกําหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจํา