Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.2 วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
1.ค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ
2.ให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
3.ให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกัน
3.1 ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของ “การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม”
1.เน้นการให้คุณค่า
2.ปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรม
3.วิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ
4.ค่านิยม
5.แบบแผนของพฤติกรรมต่างๆ
6.เพื่อตอบสนองต่อการดูเเล
7.ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ
ได้เเก่
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม(CROSS CULTURAL STUDY)
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ(INTER -CULTURAL STUDY)
8.สังคมมีความหลากหลายมากขึ้น
9.ความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆ
10.มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ
11.รูปแบบบริการมีความหลากหลาย
12.เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
13.“ข้าม”หมายถึง
การข้ามวัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรมศาสตร
เน้นกระบวนการและวิธีคิดของคนหรือกลุ่ม
CROSS CULTURAL
ความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
TRANSCULTURAL
เชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
TRANSCULTURAL NURSING
4.มีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
1.เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ
2.มีการวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ
3การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแล
ความสําคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
3.ความเท่าเทียมกันในการดารงตาแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
1.จัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
5.การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน
2.การประกาศสิทธิของผู้ป่วย
4.เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
6.เพิ่มมิติทางสังคมวัฒนธรรมความเชื่อประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น
7.หลักความเชื่อด้านศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีของคนในพื้นที่
3.3 แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดสาคัญ
ให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
เป็นการพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์
พยาบาลมีการมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรมีความไวทางวัฒนธรรม
สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน
มีความไว(SENSITIVE) ในการรับรู้ความแตกต่าง
กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ คือ
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
เช่น ค่านิยม บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
ด้านบุคคล
แบบแผนการดาเนินชีวิต
พฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ
ผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล
ด้านการพยาบาล
มุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม (HUMANISM)
เน้นการให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์(LIBERAL, HUMANIST PERSPECTIVE)
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE)
เน้นความเป็นพลวัตร
การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
การค้นหาความจริงต้องผ่านตัวคนโดยใช้ระบบคุณค่า
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม
แนวคิดปฏิฐานนิยม (POSITIVIST PHILOSOPHICAL PERSPECTIVE)
การแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิ
ประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
แนวคิดมนุษยนิยม (HUMANISM)
การเคารพนับถือ
ให้คุณค่าของมนุษย์
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม
ความเป็นอิสระมีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE)
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ตัวอย่าง
ชนชั้นทางสังคม
ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสถาบัน
บทบาทเพศ
ชาติพันธ์
เชื้อชาติ
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมที่พบบ่อยและควรคํานึงถึง
การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
WHEN
WHERE
วิธีการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
HOW
ตัวอย่าง
ศาสนาอิสลาม
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษากลางเช่นเลี่ยงการใช้ค าว่า การคุมกำเนิด การทำหมัน แต่ใช้คำว่า เว้นช่วงการมีลูก
หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฏอน
การใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสม
เยี่ยมถึงเตียงไปถึงบ้านมากกว่านัดมาพบ
ชาวมอญ
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองและพึ่งยาพื้นบ้าน
มีความเชื่ออำนาจนอกเหนือธรรมชาติ
ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นที่พึ่งหลักของการดำเนินชีวิต
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขึ้นกั
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมแบบรวมกลุ่ม(COLLECTIVE SOCIETY
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่(ISOLATE SOCIETY)
แนวนโยบายของประเทศ (POLICY)
ตัวอย่างนโยบายของประเทศเกี่ยวกับวัฒนธรรมของชาติ
นโยบายทางสังคมเป็นแบบผสมกลมกลืนหรือแบบบูรณาการของประเทศไทย
นโยบายของประเทศสิงคโปร์
นโยบายทางสังคมของญี่ปุ่น
การทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ประเทศญี่ปุ่น
1.ชาวญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะหลีกเลี่ยงการสัมผัสกาย
3.การให้คุณค่ากับสุขภาพและวิถีชีวิตที่หลากหลาย
4.ระบบประกันสุขภาพที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ
2.พยาบาลญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาต
ประเทศรไทย
วิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยื
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่ม (COLLECTIVISM) มากกว่าแบบรายบุคคล
ข้อกำหนดของสภาการพยาบาล
ให้ความสาคัญกับการดูแลตามวัฒนธรรมความเชื่อของบุคคล
้เข้าสู่ความเป็นสากลมากขึ้นขณะเดียวกันยังต้องรักษาหรือคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการดูแล
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดร่วมสมั
สมรรถนะที่จาเป็นในการพยาบาลในความหลากหลาย
แนวคิดของ Consent Form
การพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
หลักการ 6 ประการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมคือการให้คุณค่าความเชื่อ
2.การดูแลคือพฤติกรรมการช่วยเหลือ
3.การดูแลทางด้านวัฒนธรรมคือคุณค่าความช่วยเหลือ
4.การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม
6.การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในกระบวนการพยาบาล Nursing process
3.Nursing care plan วางแผนการพยาบาล
4.Nursing care ปฏิบัติการพยาบาล
5.Nursing evaluation ประเมินผล
1.Nursing Assessemnt ประเมินข้อมูล
2.Nursing diagnosis วินิจฉัยการพยาบาล
3.4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
คุณลักษณะ12 ประการ
สามารถสื่อสาร
ประเมินความเข้าใจในสาร
มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตร
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา
4.มีความไวเชิงวัฒนธรรม
บูรณาการความรู้
3.มีทัศนคติด้านบวก
11.คำนึงกฎระเบียบ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2.เข้าใจตื่นตัวใฝ่รู้
พิทักษ์สิทธิ
1.เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
12.รักษาความลับ
3.5 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
พฤติกรรม
เศรษฐฐานะ
วิธีคิด
ความเชื่อ
ภาษา
3.6 ความเป็นสากลของการดูแลทางวัฒนธรรม
Cultural diversity
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Cultural universality
ความเป็นสากลทางวัฒนธรรม
ความเหมือนกัน กับ ลักษณะเด่นเฉพาะ
เน้นการดูแลมนุษย์และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม