Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
บทที่ 4.2 การบริหารยาฉีด
การคำนวณขนาดยา
คำสั่งการรักษาให้ Morphine 3mgv q 6hr.
สิ่งที่ต้องเข้าใจ
การฉีดยา Morphine เข้าทางหลอดเลือดดำต้องผสมให้เจือจํางเป็น 10ml
1.ยาMorphine 1 amp มี 10 mg/ml
(ดูได้จากข้าง ampยา)
วิธีทำ
Morphine 10 mg =10ml
ต้องการใช้ 3mg = 3x10ml/10
ตอบ = 3 ml
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1.2 กระบอกฉีดยา (Syringe)
ประกอบด้วย
กระบอก (barrel)
ลูกสูบ (plunger)
ในการเปิดห่อกระบอกฉีดยาต้องระวังไม่ให้ปนเปื้อน และให้รักษาด้านในผ้าขาวเพื่อใช้ปูรองกระบอกฉีดยาที่จัดเตรียมยาเสร็จแล้ว
1.3 เข็มฉีดยา
ทำจาก stainless steel และเป็นชนิดใช้ครั้งเดียว
ตัวเข็ม (shaft)
ปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
หัวเข็ม (hub)
การเลือกเข็มฉีดยา
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย (route of administration)
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
1.1 ยาฉีด(Medication)
1) ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose) ถ้าใช้ไม่หมดต้องทิ้งไป
2) ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose ยาที่เป็นผงจะมีความคงตัวต่ำจุกขวดจะเป็นยางและมีแผ่นโลหะยึดรอบริมของขอบจุก
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
2.2วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
3)ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยา
4)สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
2)ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
5)ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
1)เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ากัน
6)แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
7)คว่ำขวดยาลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
8)ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากจุกขวดยา
9)ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
10)เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
2.3วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
4)ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา
5)เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
3)ดูดตัวทำละลายตามปริมําณที่ต้องการ ด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยําฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด
6)ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบalcoholปล่อยให้ alcohol แห้ง
7)ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการ
8)หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด และมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้
2)ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
1)ตรวจดูตัวทำละลาย
2.1วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
5)ฉีกซองกระบอกฉีดยา
6)สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยํา
4)คลี่สำลีชุบalcoholหรือ gauze แล้วทำการหักหลอดยา
7)ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
3)เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
8)เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
2)เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย โดยคลี่สำลีชุบ alcohol
9)ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
1)ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา
10)เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสม
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ากว่าการฉีดยาเข้ําชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
3.การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว 5/8 นิ้วให้แทงเข็มทำมุม 45 องศาถ้าใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
4.การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
2.ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
5.การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
1.ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
2)บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
3)บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior superioriliac spine
1)บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
4)บริเวณสะบัก
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีดเข้าหลอดเลือดได้
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
3)ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด
4)แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
2)ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
5)ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง
ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างถนัดดันลูกสูบเดินยาช้ํา ๆ
1)ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบalcohol70%
6)เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
7)คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้ด้วย
8)ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต
9)จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
4) จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
5) อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
3)ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
6) แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ในทิศทางเดียวกัน
2)เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
7) จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
1)เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตำแหน่งที่จะฉีดยา
8) เดินยําช้ํๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดีกดบริเวณที่ฉีดเบาๆ หลังฉีดยา ยกเว้นมีข้อห้าม
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ส่วนมากเป็นการฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ทดสอบยาหรือสารต่างๆ ยาหรือสารต่างๆ ที่ฉีดจะถูกดูดซึมช้าที่สุด
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
4.ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
5.สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
3.แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนังโดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น และแทงเข้าไป
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
7.ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยา
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
3.วางแผนการพยาบาล
คำนึงถึงหลัก 6Rs (10 Rs)
4.ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทํางต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประเมินสภาพทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูล ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
5.การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
1.การประเมินสภาพ
การบริหารยาฉีดให้กับผู้ป่วยพยาบาลควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยํา