Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผล
การประเมินสภาพ
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สาหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
กระบอกฉีดยา (Syringe)
กระบอก (barrel)
ลูกสูบ (plunger)
เข็มฉีดยา
ตัวเข็ม (shaft)
ปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
หัวเข็ม (hub)
ยาฉีด (Medication)
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose)
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose
การเลือกเข็มและกระบอกฉีดยา
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย (route of administration)
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
ฉีกซองกระบอกฉีดยา
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยำเข้ำกับปลายกระบอกฉีดยำ บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
ถ้าเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนหรือหลายชนิดพร้อมกัน
ควรวางกระบอกฉีดยาที่เตรียมยำแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง
และมีการ์ดยำแนบกระบอกฉีดยาไว้เพื่อป้องกันการนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
ถอดปลอกเข็มออก แล้วสอดเข็มเข้าหลอดยา
คลี่สำลีชุบalcoholหรือ gauzeแล้วหุ้มรอบบริเวณคอหลอดยา
แล้วทำการหักหลอดยา วางหลอดยาที่หักปลายแล้วในบริเวณที่ไม่ถูกปนเปื้อน
เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบalcohol70%
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
แทงเข็มเข้าจุกยาง
คว่ำขวดยาลง
ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออกเมื่อได้ยาครบตามปริมำณที่ต้องการ ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากจุกขวดยา
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ำกับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยา
เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
หากเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน
ควรวางกระบอกฉีดยา (ที่เตรียมยาแล้ว) บนถาดที่มีผ้ำสะอาดปูรอง และแนบการ์ดยาไว้
เพื่อป้องกันการนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
เขย่าขวดยาเบาๆ ให้ยาเข้ากัน
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ
ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้ง
ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% จนถึงคอขวด ปล่อยให้ alcohol แห้ง
ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตำมปริมาณที่ต้องการ
ตรวจดูตัวทำละลาย
หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด ให้เขียนฉลากติดขวดไว้ และเก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากยาที่แนบมากับยา
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยำว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศำ ถ้าใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
บริเวณหน้าท้อง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณสะบัก
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคงด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด และใช้มือข้างถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย
เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆ
ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง
ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต หรือภาชนะ สำหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนำเข็มไปทำลายต่อไป
ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
ล้ำงมือให้สะอำด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่ำงรวดเร็ว ในทิศทางเดียวกัน
เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตำแหน่งที่จะฉีดยา
เดินยาช้าๆ กดบริเวณที่ฉีดเบาๆ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศำ กับผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
การคำนวณขนาดยา
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดยา