Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
เป็นการฉีดสารที่เป็นของเหลวเข้าไปในเนื้อเยื่อ หลอดเลือด หรือช่องในร่างกาย
การคำนวณขนาดยา
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดยา
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด (Medication)
่เป็นหลอด (ampule)
เป็นยาน้้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose)
ขวด (vial)
มีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ
กระบอกฉีดยา (Syringe)
ขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
กระบอก (barrel) ปลายขนาดสวมได้พอดีกับหัวเข็มฉีดยา
ส่วนที่สองคือ ลูกสูบ (plunger)
มีทั้งชนิดที่ทำด้วยพลาสติกซึ่งใช้แล้วทิ้ง
ชนิดทำด้วยแก้วกระบอกฉีดยาที่ ทำด้วยแก้วเมื่อล้างสะอาดแล้วและทำให้แห้งจะห่อด้วยผ้ำ 2 ชั้น
เข็มฉีดยา
ทำจาก stainless steel
เป็นชนิดใช้ครั้งเดียว (disposable)
ประกอบด้วย 3 ส่วน
หัวเข็ม (hub)
ตัวเข็ม (shaft)
ปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
เบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18 ถึง 28
การใช้
ดูดยา ละลายยา
ใช้เบอร์ 18 – 20
ความยาว (นิ้ว) 1 – 1 ½
ฉีดยาเข้าผิวหนัง
เบอร์ 25 – 27
3/8 – ½
ฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
เบอร์ 23 – 25
½ - 5/8
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับผู้ใหญ่
เบอร์ 20 – 23
1 – 2 ½
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับทารกและเด็กเล็ก
เบอร์ 25 – 27
½ - 1
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
เบอร์ 18 – 23
1 ½
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
เตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบ alcohol 70%
เตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ากัน
เตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
ตรวจดูตัวทำละลำย (น้ำกลั่นหรือน้ำเกลือ) ว่ำมีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคว่ำขวดยก ส่องดู หากมีฝุ่นผง ไม่ควรนำมาใช้
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนัง
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้ำไปในชั้นใต้ ผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยำ
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยา
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
ตำแหน่ง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
บริเวณสะบัก
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา
ถ้าใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมี เลือดมาเลี้ยงมาก
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)
ควรฉีดบริเวณส่วนกลาง ของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีขอบเขตเป็นรูปสามเหลี่ยม
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก (Glutens muscle)
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยำให้ตึง
แทงเข็มด้วยควำมเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง
เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้
ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต
จัดเสื้อผ้ำผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ล้างมือให้สะอาด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
วางแผนการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
การบริหารยาถูกต้องตามหลัก 6Rs (10 Rs)