Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
การคำนวณขนาดยา
ต้องฝึกการคำนวณยาให้ได้ เพื่อจะได้ทำการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ ได้อย่างถูกต้องครบตำมขนาดที่แพทย์สั่ง
วิธีการเตรียมยาฉีดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด (Medication)
กระบอกฉีดยา (Syringe)
เข็มฉีดยา
เบอร์เข็มใหญ่ ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของตัวเข็มจะเล็ก
ถ้าเบอร์เข็มเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางจะใหญ่ขึ้น
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบ alcohol70%
เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย โดยคลี่สำลีชุบ alcohol รองหลังคอหลอดยา
เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
คลี่สำลีชุบalcohol แล้วทำการหักหลอดยา วางหลอดยาที่หักปลำยแล้วในบริเวณที่ไม่ถูกปนเปื้อน
ฉีกซองกระบอกฉีดยา สวมหัวเข็ม
ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือข้ำงที่ไม่ถนัด ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างที่ถนัด ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้าบรรจุขวด (Vial)
เขย่าขวดยาเบา ๆ ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยา สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
ถอดปลอกเข็มออก ดูดอำกำศเข้ำกระบอกฉีดยำเท่ำปริมำณยำที่ต้องกำร
แทงเข็มเข้าจุกยาง คว่ำขวดยาลงโดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยาจากขวดจะไหลเข้ามาในกระบอกฉีดยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
ตรวจดูตัวทำละลายว่ามีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคว่ำขวด ยกส่องดู
ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ
ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้ง ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการ
หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด เก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากยาที่แนบมากับยา
ตาแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาท เนื่องจำกกล้ำมเนื้อเป็นเนื้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี
ยาที่มีความเหนียวข้น และระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ หรือมีส่วนผสมของน้ำมันก็สามารถฉีดเข้ากล้ามเนื้อได้
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
ฉีดยาเข้าในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ากว่าการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ในชั้นใต้ผิวหนังมี pain receptor อาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดมากกว่า
ยาที่ใช้ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ควรมีลักษณะใส ละลายในน้ำ มีความเข้มข้นต่ำ
ยาส่วนมากที่ใช้ คือ insulin และ heparin
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
ฉีดยาเข้าในชั้น dermis (ชั้นหนังแท้) เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่
ยาหรือสารต่างๆ ที่ฉีดจะถูกดูดซึมช้ำที่สุด
บริเวณท้องแขนด้านในของปลายแขนเป็นบริเวณที่เหมาะสมที่สุด
ทำให้มองเห็นปฏิกิริยาของกำรทดลองได้ชัดเจน
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
3.วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก 6Rs (10 Rs)
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วำงไว้
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยำก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
5.การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
1.การประเมินสภาพ
การซักประวัติการได้รับยา
การแพ้ยา
ประเมินตำแหน่งที่สามารถฉีดยาได้
ประเมินอาการก่อนและหลังการได้รับยา