Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.2 การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
บทที่4.2 การบริหารยาฉีด
การคำนวณขนาดยา
การบริหารยาฉีดยา
ขั้นตอนการเตรียมยา
ต้องมีการฝึกคำนวณยา
ตัวอย่าง
คำสั่งการรักษาให้Morphine 3mg
สิ่งที่ต้องเข้าใจ
ยาMorphine 1 amp มี10 mg/ml
ผสมMorphine กับ sterile water เจือจาง10ml เนื่องจากMorphine 1 amp มี1 ml จึงใช้ sterile water 9 ml
1 more item...
ฉีดยา Morphine เข้าทางหลอดเลือดดำต้องผสมเจือจาง10ml
ขั้นตอนการฉีดยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด(Medication)
ยาที่บรรจุในหลอด(ampule)
เป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว
ใช้ไม่หมดต้องทิ้ง
ยาที่บรรจุในขวด(Vial)
ชนิดที่เป็นน้ำ
ชนิดที่เป็นผง
มีความดันต่ำ
จุกขวด
เป็นยาง
มีแผ่นโลหะยึดรอบริมของขอบจุกยาง
ปากขวดส่วนกลางของจุกยางจะบาง
เพื่อให้ง่ายต่อการแท่งเข็ม
จะมีการบอกชื่อ ปริมาณของตัวทำละลายยาไว้บนขวดยา
มีทั้งแบบ single dose/ multiple dose
กระบอกยาฉีด(Syringe)
ประกอบด้วย2ส่วน
กระบอก(barrel)
มีปลาย(tip)ที่่มีขนาดสวมได้พอดีกับเข็มฉีดยา
ลูกสูบ(plunger)
ชนิด
พลาสติก
ใช้แล้วทิ้ง
แก้วกระบอกฉีดยา
เมื่อล้างสะอาด
ห่อผ้า2ชั้น แยกลูกสูบกับกระบอกออกจากกัน
ห่อกระบอกไว้นอกสุด
ในการเปิดห่อระวังไม่ให้ปนเปื้อน
เข็มฉีดยา
ทำจาก stainless steel
ชนิดใช้ครั้งเดียว
ส่วนประกอบ
ตัวเข็ม(shaft)
หัวเข็ม(hub)
ปลายเข็ม(bevel or slanted tip)
การเลือกเข็มและกระบอกฉีดยาขึ้นอยู่กับเกณฑ์
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ความหยืดของยา
ชนิดของยา
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย
ขนาดของเข็มฉีดยาใช้ตามวัตถุประสงค์
ฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
เบอร์ 23-25
ยาว1/2 - 5/8 นิ้ว
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับผู้ใหญ่
เบอร์ 20-23
ความยาว 1-2.5 นิ้ว
ฉีดยาเข้าผิวหนัง
เบอร์ 25-27
ยาว 3/8 - 1/2 นิ้ว
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
เบอร์ 18-23
ยาว 1.5นิ้ว
ดูดยา ละลายยา
เบอร์18-20
ยาว 1-1.5นิ้ว
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับเด็กเล็กและทารก
เบอร์ 25-27
ยาว 1/2-1 นิ้ว
วิธีการเตรียมยาชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด(Ampule)
5.ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังการปนเปื้อน
6.สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
4.คลี่สำลีชุบแอลกอฮอล์หุ้มรอบคอหลอดยา
7.ถอดปลายเข็มออก จับหลอดยาในข้างที่ไม่ถนัด ถือกระบอกฉีดยาข้างที่ถนัด สอดเข็มเข้าหลอดยา
3.เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
8.เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
2.เลื่อยรอบคอยยาพอเป็นรอย
9.ตรวจสอบชื่อยาอีกครั้งก่อนทิ้งหลอดยา
1.ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา
10.เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด ความยาว ที่เหมาะสมกับการฉีดยา
11.ถ้าเตรียมฉีดยาหลายคนหรือหลายชนิด ควรวางกระบอกยาฉีดที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดและการ์ดแนบกระบอกฉีดยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด(vial)
6.แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
7.คว่ำขวดยาลง ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
5.ถอดปลายเข็มออก ดูดอากาศเข้าเท่าปริมาณที่ต้องการ
8.ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยาจะไหลเข้าในกระบอกฉีดยา
4.สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
9.ตรวจสอบชื่อยาอีกครั้ง
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังไม่ให้มีการปนเปื้อน
10.เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด ความยาว ที่เหมาะสมกับการฉีดยา
2.ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
โดยหมุนจากจุดที่แทงเข็มวนออกด้านอกจนถึงคอขวดยา
11.ถ้าเตรียมฉีดยาหลายคนหรือหลายชนิด ควรวางกระบอกยาฉีดที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดและการ์ดแนบกระบอกฉีดยา
1.เขย่าขวดยาบ่อยๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด(วิธีละลาย)
4.ถอนเข็ม นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
5.เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
3.ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ ฉีดเข้าไปในขวดยาผง โดยแทงเข็มเข้าจุกขวดยาแล้วดันลูกสูบให้ตัวทพละลายเข้าไปในขวดยา
6.ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
2.ทำความสะอาดจุกขวดจนถึงคอขวด
7.ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข้มชุดเดิม ดูดยาออกตาใปริมาณต้องการ
1.ตรวจดูตัวละลาย ว่ามีผลฝุ่นหรือไม่
8.หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด และมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวรต่างๆ
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา
หลีกเลี่ยงบริเวณ
ช้ำบวม
แผล
มีการอักเสบ
อัมพาต
ถามชื่อ-สกุลของผู้ป่วย ประวัติการแพ้ยา
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย เปิดบริเวณที่จะฉีดยาให้กว้างพอ
ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection:Id)
ฉีดเพื่อวินิจฉัยโรค ทดสอบยา
จำนวนยาที่ฉีดไม่เกิน0.5ml
บริเวณท้องแขนด้านในของปลายแขน
วิธีการฉีด
3.แทงเข็มทำมุม5-15 องศากับผิวหนัง
โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น แทงเข้าไปเพียงให้เข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย
4.ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
2.ผิวหนังตึง
5.สังเกตบริดวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา
6.ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
7.ใช้ปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน/ดำเขียนรอบรอยนุนที่เกิดจากการฉีดยา
1.ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมด
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง(Subcutaneous injection:Sc)
ยาที่ใช้ฉีดมีลักษณะใส ละลายน้ำได้ ความเข้มข้นต่ำ มีความเป็นกลาง
ยาที่ฉีดเข้าใต้ผิวหนังส่วนมาก
insulin
heparin
จำนวนยาที่ฉีดไม่เกิน2 ml
การฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
2.ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
แทงเข็ม
เข็มยาว5/8 นิ้ว
ให้แทงมุม45 องศา
เข็มยาว 1/2 นิ้ว
ให้แทงมุม 90 องศา
1.ตำแหน่ง
บริเวณส่วนกลางด้านนอก
บริเวณหน้าท้อง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณสะบักหลัง
4.การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
5.การฉีด heparin และ Insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ(IM)
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ดูดซึมเร็ว
อาจเกิดอันตรายต่อเส้นประสาท / ฉีดเข้าหลอดเลือดได้
ยาต้องมีความเหนียวข้น ระคายเคืองเนื้อเยื่อ มีส่วนผสมของน้ำมัน
การหาตำแหน่ง
กล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)
ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื้อ มีขอบเขตรูปสามเหลี่ยม
กล้ามเนื้อสะโพก(Glutens muscle)
วิธีที่2
แบ่งสะโพกเป็น4ส่วน
ด้านล่าง
ขอบเขตตามแนวของก้นย้อย
ด้านใน
ขอบเขตตามแนวแบ่งครึ่งจากกระดูก Coccyx ขึ้นไปตามแนแบ่งครึ่งของกระดูก sacrum
ด้านบน
ขอบเขตแนวของilia crest
ด้านนอก
ขอบเขตตามแยวด้านข้างขอต้นขาและสะโพก
วิธีที่3
ลากเส้นจากposterior superior iliac spine ไปยังปุ่มกระดูกต้นขาขนานกับsciatic never
ตำแหน่งที่ฉีด
ส่วนบนด้านนอกของเส้นต่ำจากขอบกระดูกเชิงกราน2-3นิ้ว
วิธีที่1
1.แบ่งสะโพกเป็น3ส่วน
ใช้landmark2แห่ง
antierior superior iliac spine
coccyx
2.ลากเส้นสมมติ2จุดแบ่ง3เส้น
3.ฉีดยาที่ ส่วนแรกนับจาก antierior superior iliac spine โดยฉีดต่ำกว่า iliac crest
กล้ามเนื้อหน้าขา (Vastus lateralis)
ให้แบ่งหน้าขาตามความยาว 3ส่วน
ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสำหรับฉีดยา
วิธีการฉีดยา
5.ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง ด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
ใช้มือข้างที่ถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย
เพื่อทอสอบว่าปลายเข้มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
ถ้าไม่มี ให้ใช้นิ้วหัวแ่มือข้างถนัดดันลูกสูบเดินยาช้าๆ
ถ้ามีเลือดเข้ามาในกระบอกฉีดยาให้ยกเลิกการฉีดนั้น และเตรียมฉีดใหม่
6.เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความเร็ว
4.แทงเข็มด้วยความเร็ว มั่งคง ทำมุม90องศา
7.คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆเพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้น
ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างไม่ถนัด ทำผิวหนังให้ตึง ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกกดลงบนผิวหนัง
8.ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา
แยกเข็ฉีดยาทิ้งในชามรูปไต
2.ถอดปลายเข้มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
9.จัดเสื้อผ้าผุ้ป่วยให้เรียบร้อย/จัดท่านั่งอยุ่ในท่าที่สบาย
1.ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยแอลกอฮอล์
10.ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวด
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัว/กดเจ็บ
เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดยา/ตำแหน่ง
แทงเข็มและถึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็วในทิศทางเดียวกัน
ใช้Z-track technique ในการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
เดินยาช้าๆเพื่อให้ยากระจายไปรอบๆได้ดี
เข็มที่จะใช้ฉีดยาต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
ปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ เตรียมเข็มฉีดยา และฉีดยาตามวิถีทางต่างๆตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
คำนึงถึงหลัก6Rs
การวินิจฉัยโรค
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดิิกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/โรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียง
การประเมินผล
ควรประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง
การประเมินสภาพ
การซักประวัติการได้รับยา แพ้ยา โรคประจำตัว
ประเมินตำแหน่งที่สามารถฉีดยาได้
ประเมินก่อนและหลังฉีดยา