Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด 💊🩺🩹📌, image, 💕✨🩺💊📌🌈 นางสาวพลินี จำปา…
การบริหารยาฉีด
💊🩺🩹📌
การคำนวณขนาดยา
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
ขั้นตอาการเตรียมยา
จะต้องฝึกการคำนวณยาให้ได้เพื่อจะได้ทำการเตรียมยาฉีด
ชนิดต่างๆ ได้อย่างถูกต้องครบตามขนาดที่แพทย์สั่ง
ขั้นตอนการฉีดยา
วิธีการเตรียมยำฉีดชนิดต่างๆ
การฉีดยาให้กับผู้ป่วยพยาบาลจะต้องทำการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ ไว้เพื่อให้ได้ยาที่ถูกชนิด และ
ขนาด โดยปราศจากเชื้อ และให้ยาอยู่ในสภาพที่พร้อมและเหมาะสมสำหรับนำไปฉีดได
ต้องศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ และวิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1.1 ยาฉีด (Medication
บรรจุอยู่ในภพชานะบรรจุที่เป็นหลอด (ampule)
และขวด (vial)
1) ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose)
เพราะเมื่อหลอดยาถูกหักแล้วจะไม่สามารถรักษำให้อยู่ในสภาพปราศจากเชื้อได้
หลอดยาที่มีวงสีรอบ
คอหลอดยา แสดงว่าหลอดยานั้นจะหักได้ง่ายไม่ต้องใช้เลื่อย
2) ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และ
multiple dose
ยาที่เป็นผงจะมีความคงตัวต่ำ
จุกขวดจะเป็นยางและมีแผ่นโลหะยึดรอบริมของขอบจุกยางไว้กันปากขวดส่วนกลำงของจุกยางจะบางเพื่อให้ง่ำยต่อการแทงเข็มตรงส่วนกลางของจุกยางจะมีแผ่นโลหะหรือฝาพลาสติกปิดไว้อีกครั้งหนึ่ง
บน
หลอดยาหรือขวดยาจะมีชื่อยา ปริมาณยา วิถีทางให้ยา วันหมดอายุของยา
ยาฉีดบำงชนิดที่เป็นผง จะ
บอกชื่อ และปริมาณของตัวทำละลายยาไว้ด้วย
1.2 กระบอกฉีดยา (Syringe)
มีหลายขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
2 ส่วนคือ
กระบอก (barrel) มีปลาย (tip) ที่มีขนาดสวมได้พอดีกับหัวเข็มฉีดยา
ลูกสูบ
(plunger) กระบอกฉีดยา
จะมีทั้งชนิดทำด้วยพลาสติกซึ่งใช้แล้วทิ้ง
ชนิดทำด้วยแก้วกระบอกฉีดยาที่
ทาด้วยแก้วเมื่อล้างสะอาดแล้วและทำให้แห้งจะห่อด้วยผ้า 2 ชั้น
แยกลูกสูบและกระบอกออกจากกัน ห่อ
ส่วนที่เป็นกระบอกไว้นอกสุด
เพราะเป็นส่วนที่จับต้องได้ ในการเปิดห่อกระบอกฉีดยาต้องระวัง
1.3 เข็มฉีดยา
ส่วนมำกทำจาก stainless steel
ชนิดใช้ครั้งเดียว
(disposable)
ประกอบด้วย 3 ส่วน
หัวเข็ม (hub) ซึ่งมีขนำดพอดีกับปลายกระบอกฉีดยา
ตัวเข็ม (shaft) เป็นส่วนที่ต่อจากหัวเข็ม
ปลายเข็ม (bevel
or slanted tip)
พิจารณาจากความลาดเอียงหรือความยาวของปลายปาด
ความ
ยาวของตัวเข็มฉีดยา
เบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18 ถึง 28
เบอร์เข็มใหญ่ ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลำง
ของตัวเข็มจะเล็ก
เบอร์เข็มเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางจะใหญ่ขึ้น
การเลือกเข็มและกระบอกฉีดยาเพื่อใช้ในการฉีดยา
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย (route of administration)
เช่น ฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อใช้
เข็มยาวกว่าฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง และชั้นผิวหนัง
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
เช่น ฉีดยาอินซูลิน ต้องใช้กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดอินซูลินโดยเฉพาะ
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อจะต้องเลือกใช้เข็มที่ยาวกว่าการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ขนาดของเข็มฉีดยา
ฉีดยาเข้ำผิวหนัง เบอร์ 25 – 27ความยาว 3/8 – ½
ฉีดยำเข้ำใต้ผิวหนัง 23 – 25 ½ - 5/8
ดูดยา ละลายยา เบอร์18 – 20 ความยาว (นิ้ว) 1 – 1 ½
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับผู้ใหญ่ เบอร์ 20 – 23 ความยาว 1 – 2 ½
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสำหรับทำรกและเด็กเล็ก เบอร์ 25 – 27 ความยาว ½ - 1
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ ขนาด 18 – 23 ความยาว 1 ½
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ควรเตรียมอุปกรณ์เพิ่มเติม
สำหรับการผสมยาฉีด
ได้แก่ ถาด ผ้ารองถาดยา อับสำลี กระปุก forceps card ยา (หรือใบบันทึกการให้
ยา)
หลังจากนั้น การปฏิบัติ
3) ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ฤทธิ์ข้างเคียง วิธีละลายยาในกรณีเป็นยาผง
4) คำนวณปริมำณยาฉีดที่ผู้ป่วยควรได้รับอย่างถูกต้อง
2) อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื่อยา วิถีทางการให้ยา
วันหมดอายุของยา (Exp.date)
5) ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง มีแสงสว่างเพียงพอ
1) ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
6) ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
7) ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
2.1 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
6) สวมหัวเข็มสำหรับดูดยำเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่
7) ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้าง
ที่ถนัด สอดเข็มเข้ำหลอดยา ระวังมิให้เข็มสัมผัสกับด้านนอกและปากหลอดยา
5) ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
8) เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยา
4) คลี่สำลีชุบalcoholหรือ gauze ที่ผ่านกำรฆ่าเชื้อโรครอบบริเวณคอหลอด
ยาเพื่อป้องกันหลอดยาที่หักปลายแล้วบาดนิ้วมือหักหลอดยา วำงหลอดยาที่หักปลายแล้วใน
บริเวณที่ไม่ถูกปนเปื้อน
9) ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
3) เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
2) เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย โดยคลี่สำลีชุบ alcohol รองหลังคอหลอดยา
ถ้ามียาค้างอยู่เหนือคอหลอดยาต้องไล่ยาลงไปอยู่ส่วนใต้คอหลอดยา ถ้าหลอดยามีแถบสีที่คอหลอดยาไม่
จำเป็นต้องเลื่อยคอหลอดยา
11) ถ้าเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนหรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวาง
กระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง มีการ์ดยาแนบกระบอกฉีดยาไว้เพื่อป้องกัน
การนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
1) ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบalcohol70%
2.2 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
4) สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่น
พอประมาณ
5) ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
3) ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
6) แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
2) ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยวิธีหมุนจำกจุดที่
แทงเข็มวนออกด้านนอกจนถึงคอขวดยา
7) คว่ำขวดยาลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
1) เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ำกัน
8) ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยาจากขวดจะไหลเข้ำมาในกระบอกฉีด
ยา เมื่อได้ยาครบตามปริมาณที่ต้องการ ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากจุกขวดยา
9) ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
11) หากเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวาง
กระบอกฉีดายา (ที่เตรียมยาแล้ว) บนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง และแนบการ์ดยาไว้เพื่อป้องกันการนำยาผิด
ชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
2.3 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
2) ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ
alcohol70% จนถึงคอขวด ปล่อยให้ alcohol แห้ง
3) ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ ด้วยวิธีเดียวกับกำรเตรียมยาฉีดจากยา
น้ำบรรจุขวด
1) ตรวจดูตัวทำละลาย (น้ำกลั่นหรือน้ำเกลือ) ว่ามีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคว่ำขวดยก
ส่องดู หากมีฝุ่นผง ไม่ควรนำมาใช้
4) ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวม
ครอบเข็มไว้
5) เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
6) ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบalcoholปล่อยให้ alcohol แห้ง
7) ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยาฉีดจากยำน้ำบรรจุขวด
8) หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด และมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้
เกี่ยวกับความเข้มข้นของยา วัน เดือน ปีที่ละลาย ผู้ละลาย และเก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากยาที่
แนบมากับยา
ตำแหน่งและวิธีกำรฉีดยาบฟริเวณต่างๆ
3.2 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น
subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ากว่าการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ในชั้นใต้ผิวหนังมี pain
receptor อาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดมากกว่า
ยาที่ฉีดเข้าใต้ผิวหนังส่วนมากคือ insulin และ heparin
ฉีดไม่เกินครั้งละ 2 m
กำรฉีดยำเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง ให้ปฏิบัติดังนี้
ตำแหน่งสำหรับฉีดยำเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
1) บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
2) บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
3) บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชำยโครงกับแนวของ anterior superior iliac spine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว เพราะมี pain receptor มำก
4) บริเวณสะบัก
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม หรือการใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้ำหากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา ถ้ำใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
3.3 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมี
เลือดมาเลี้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีดเข้าหลอดเลือดได้
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle) เป็นบริเวณที่
อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของ acromion process 2 นิ้ว
2) วิธีหำตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก (Glutens muscle) มี 3 วิธี
วิธีที่ 1 แบ่งสะโพกออกเป็น 3 ส่วนใช้ landmark 2 แห่ง คือ anterior superior
iliac spine และ coccyx
ลากเส้นสมมุติระหว่าง 2 จุด แบ่งเส้นสมมุติออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กัน ตำแหน่งที่ฉีดยาได้
คือส่วนแรกนับจาก anterior superior iliac spine โดยฉีดต่ำกว่าระดับของ iliac crestประมาณ 2-3 นิ้วมือ
วิธีที่ 2 แบ่งสะโพกออกเป็น 4 ส่วน โดยมีขอบเขตดังนี้
ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac crest
ด้านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้นย้อย (glutealfold)
ด้านใน (medial) มีขอบเขตตามแนวแบ่งครึ่งจากกระดูก Coccyx ขึ้นไปตามแนวแบ่งครึ่งของกระดูก sacrum
ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตามแนวด้านข้างของต้นขาและสะโพก
วิธีที่ 3 ลากเส้นจาก posterior superior iliac spine ไปยังปุ่มกระดูกต้นขา(greater trochanter of the femur)
เส้นนี้จะขนานกับ sciatic never ตำแหน่งที่ฉีด คือ ส่วนบนด้าน
นอกของเส้น ต่ำจากขอบกระดูกเชิงกราน 2-3 นิ้วฟุต
3) วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ำกล้ามเนื้อ Vastus lateralis (กล้ามเนื้อหน้าขา) ให้
แบ่งหน้าขาตามความยาว (จาก greater trochanter ไปยัง lateral femoral condyle)
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยหมุนออก
2) ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศจากจุดที่จะแทงเข็มให้เป็นวงกว้างประมำณ 2-3 นิ้ว ปล่อยให้ alcoholแห้ง
3) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้
ตึง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
4) แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง (ไม่โยกไปมาและไม่เลื่อนขึ้นลง)
6) เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
7) คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้
ด้วย (ยกเว้นยาที่มีส่วนประกอบของโลหะหนัก)
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต หรือภาชนะ
สำหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนำเข็มไปทำลาย
9) จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ล้างมือให้สะอาด
3.1 วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ฉีดยาเข้าในชั้น
dermis (ชั้นหนังแท้) เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนัง โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น และแทงเข้าไป
เพียงให้ปลายตัดเข็มเลยเข้ำไปในผิวหนังเล็กน้อย
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้ำไปในชั้นใต้
ผิวหนัง
ผิวหนังให้ตึง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและ
บอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว และห้ามวงด้วยสีแดง
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
4) จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด จะช่วยบรรเทาความเจ็บปวดและไม่สุขสบายลงได้
5) อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
3) ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ จะทำให้ผู้ป่วยเจ็บปวดน้อยลง
กว่าวิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อแบบดั้งเดิม
6) แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ในทิศทางเดียวกัน
2) เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก เพราะยาจะระคายเคืองเนื้อเยื่อที่เข็มแทง
ผ่าน ทำให้ผู้ป่วยปวดและมีอันตรายต่อเนื้อเยื่อได้
7) จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
1) เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตำแหน่งที่จะฉีดยา
8) เดินยำช้าๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดีกดบริเวณที่ฉีดเบาๆ หลังฉีดยา
ยกเว้นมีข้อห้าม
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก
6Rs (10 Rs)
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทาง
ต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประเมินสภาพทั้งหมดแล้ว
นำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูล
เช่น
มีโอกำสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง เพื่อป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
การประเมินสภาพ
การบริหารยาฉีดให้กับผู้ป่วยพยาบาลควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยา
เช่น
กำรแพ้ยา
โรคประจำตัว
การซักประวัติการได้รับยา
💕✨🩺💊📌🌈
นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378💙 🌈💉🏥🙏🏻