Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเย็บแผล, นางสาวดารุณี คำปิว เลขที่ 22 ห้อง A ชั้นปีที่ 3, Closure2, v4…
การเย็บแผล
การรักษาหรือให้คำแนะนำ
- บาดแผลพุพองที่เป็นตุ่มน้ำใส ไม่ควรเจาะตุ่มน้ำให้แตก หรือลอกผิดที่คลุมตุ่มน้ำนั้นทิ้ง
- หากมีไข้ ปวดบาดแผล มีอาการบวมแดงรอบแผล ควรกลับมาพบแพทย์เพื่อตรวจซ้ำ
- พยายามให้แผลแห้ง และสะอาดอยู่เสมอ ระวังอย่าให้เปียกน้ำหรือสัมผัสสิ่งสกปรก
- ผู้ที่ได้รับการเย็บแผล ควรกลับมาตรวจซ้ำตามนัด ซึ่งปัจจุบันนี้การล้างแผลทุกวัน อาจไม่จำเป็น ขึ้นกับชนิดของบาดแผล และวิธีการทำแผล มาถอดไหมที่เย็บแผลตามแพทย์นัด
- ควรทำความสะอาดรอบบาดแผลด้วยการล้างน้ำเกลือปราศจากเชื้อก่อน หากไม่ทราบวิธีให้รีบมาล้างแผลที่โรงพยาบาล
-
การใช้ยาชา
- ยาชาเฉพาะที่ที่ผสม adrenaline
1% xylocaine with adrenaline 2% xylocaine with adrenaline ออกฤทธิ์เร็ว กระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือด ใช้สำหรับแผลที่เลือดออกมาก ห้ามใช้อวัยวะส่วนเช่น นิ้วมือ ใบหูนิ้วเท้า ติ่งหู เป็นต้น
-
- ยาชาเฉพาะที่ไม่ผสม adrenaline
-
หลักในการฉีดยาชา
-
-
การเริ่มและเดินยา ควรฉีดเข้าไปในผิวหนังบริเวณ Intradermal wheal ก่อน ยกเว้นบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า หรือหนังศีรษะ จากนั้นจึงค่อย ๆ ปักเข็มเข้าไปในเนื้อใต้ผิวหนัง
การฉีดยาชาบริเวณกว้าง ควรแทงเข็มผ่านผิวหนังเพียงครั้งเดียว เมื่อเปลี่ยนตำแหน่งควรถอนเข็มออกเกือบสุดแล้วค่อยเปลี่ยนทิศทางเข็ม โดยไม่ต้องถอนเข็มออกพ้นผิวหนัง
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบาย ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องในระหว่างที่ได้รับยาชา
-
ซักประวัติการแพ้ยา อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการฉีดยาชา และให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการแพ้ยาหรือผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการได้รับยาชา
-
การให้ยา Antibiotic
-
-
ปวด : Paracetamal (500) 2 tab.prn., NSAID : Ibuprofen (400) 1x2pc
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-