Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
การฉีดยา
เป็นการฉีดสารที่เป็นของเหลวเข้าไปในเนื้อเยื่อ หลอดเลือด หรือช่องในร่างกาย
วัตถุประสงค์
เพื่อการรักษา
การให้ภูมิคุ้มกันโรค
มี 4 วิธี
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
การฉีดยาเข้าผิวหนัง
การคำนวนขนาดยา
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดขา
เพื่อจะได้ทำการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ ได้อย่างถูกต้องครบตามขนาดที่แพทท์สั่ง
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด
ยาสำหรับฉีดบรรจุเป็นหลอดหรือขวด
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ
Single dose
Multiple dose
ยาที่เป็นผงจะมีความคงตัวต่ำ
จุกขวดจะเป็นยางและมีแผ่นโลหะยึดรอบรับและขอบจุกยาส่วนกลางของจุกยางจะมีแผ่นยางะเปิดไว้
เพื่อให้ง่ายต่อการแทงเข็ม
ยาที่บรรจุในหลอดเป็นยาน้ำ
ใช้ฉีดครั้งเดียว
ใช้ไม่หมดต้องทิ้งไปเลย
เพราะหลอดยาถูกหักแล้วจะไม่สามารถรักษาให้อยู่ในสภาพปราศจากเชื้อได้
กระบอกฉีดยา
มีขนาดตั้งแต่ 0.5-50 mI
ประกอบด้วย 2 ส่วน
กระบอก
มีปลายที่ขนาดสวมได้พอดีกับหัวเข็มฉัดยา
ลูกสูบ
มี 2 ชนิด
พลาสติก
แก้ว
ล้างสะอาดแล้วต้องทำให้แห้งด้วยผ้า 2 ชั้น
แยกลูกสูบและกระบอกฉีดขา
ระวังไม่ให้ปนเปื้อน
รักษาด้านในผ้าขาว
เพื่อใช้ปูรองกระบอกฉีดบาที่จัดเตรียมยาเสร็จแล้ว
เข็มฉีดยา
ส่วนมากทำจาก stainless steel
เป็นชนิดใช้ครั้งเดียว
ประกอบด้วย 3 ส่วน
หัวเข็ม
ขนาดพอดีกับปลายกระบอกฉีดขา
สามารถจับต้องได้ขณะทำให้หัวเข็มและปลายหลอดฉีดยาติดกัน
ตัวเข็ม
จับต้องไม่ได้ต้องรักษาสภาวะปราศจากเชื้อ
ปลายเข็ม
จับต้องไม่ได้ต้องรักษาสภาวะปราศจากเชื้อ
การเลือกเข็มฉีดยา
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย
ฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อต้องใช้เข็มยาวกว่าฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังและชั้นผิวหนัง
ความหนึดของยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
ฉีดยาอินซูลินใช้กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดอินซูลินโดยเฉพาะ
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ข้อควรปฏิบัติ
ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื้อยา วิถีทางการให้ยา วันหมดอายุของยา
ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ฤทธิ์ข้างเคียง วิธีละลายยาในกรณีเป็นยาผง
คำนวนปริมาณยา
ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยา
ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาด
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด
ทำความสะอาดรอบดอหลอดยา
เลื่อยรอบคอหลอดยา
3.เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
คลี่สำลีชุบalcohol หรือ gauzeมาหุ้มรอบคอหลอด
ฉีกซองกระบอกฉีดโดยระวังไม่ให้ปนเปื้อน
สวมเข็มเข้าปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่น
ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
ถือกระบอกฉีดข้างที่ถนัด
เจียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา
ตรวจสอบชื้อยาบนหลอดยาก่อนทิ้งหลอดยา
เปลี่ยนเข็มใหม่ที่เหมาะกับการฉีดยา
ถ้าเตรียมยาให้ผู้ป่วยหลายคนควรวางกระบอกฉีดยาบนถาดที่ปูผ้าสะอาดรอง
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด
เขย่าขวดเบาๆ
ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol 70%
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังไม่ให้ปนเปื้อน
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้าปลายกระบอกฉีกยา
ถอดปลอกเข็มออกดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องกาย
แทงเข็มเข้าจุกยา
คว่ำขวดยาลง
ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก
ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยา
เปลี่ยนเข็มใหม่ที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยา
ถ้าเตรียมยาให้ผู้ป่วยหลายคนควรวางกระบอกฉีดยาบนถาดที่ปูผ้าสะอาดรอง
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด
ตรวจดูตัวทำละลายว่ามีฝุ่นผงมั้ย
ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย
ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ
4.ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา
เขย่าขวดให้ตัวทำละลายและลายผง
ทำความสะอาดจุกขวดยา
ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวด
หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมดและมีอายุเก็บไว้ได้ให้เขียนฉลากติดขวด เกี่ยวกับความเข้มข้นวันเดือนปีที่ละลาย ผู้ละลายแล้วเก็บไว้ที่ที่เหมาะสม
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นตอนการก่อนฉีดยา
1.ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ถามชื่อ-สกุลของผู้ป่วย รวมถึงประวัติการแพ้ยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาดแล้วสวมคุงมือ
Intradermal injection
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้นdermis
ฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ทดสอบยาหรือสารต่างๆ ยาหรือสารต่างๆ
ดูดซึมช้าที่สุด
จำนวนยาฉีดไม่เกิน 0.5mlแต่ไม่เกิน 1ml
ใช้กระบอกฉีดยา ชนิดtuberculin syringe
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มทำมุม5-15 องศากับผิวหนัง
4.ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
7.ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น Subutaneous tissue
ลักษณะใส ละลายในน้ำ มีความเข้มข้นต่ำ
มีความเป็นกลาง
ฉีดเข้าใต้ยิงหนังส่วนมากคือ insulinและ heparin
จำนวนยาไม่เกิน 2 ml
ให้ปฏิบัติ
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
บริเวณหน้าท้องที่อยระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของanterior
บริเวณสะบัก
2.ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็มหรือใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อ
3.การแทงเข็มถ้าเข็มยาว 5/8 นิ้วให้แทงทำมุม 45 องศา
4.ฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
5.ฉีด heparinและ insulin
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การหาตำแหน่งยาเข้ากล้ามเนื้อ
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน
เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของacromion process 2 นิ้ว
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก
มี 3 วิธี
วิธีที่ 1
แบ่งสะโพกออกเป็น 3ส่วน ใช้ landmark 2 แห่ง
anterior superioriliac spine
coccyx
วิธีที่ 2
มี 4 ส่วน
ด้านบน
1 more item...
ด้านล่าง
1 more item...
ด้านใน
1 more item...
ด้านนอก
1 more item...
วิธีที่ 3
ลากเส้นจาก posterior superior iliac spineไปปุ่มกระดูกต้นขา
เส้นนี้ขนานกับsciatic never
วิธีหาตำแหน่งฉีดขาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis
แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดขา
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1.ทำตามสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยา
2.ถอดปลาขเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง
แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90องศา
ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคงด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด
เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่แทงเข็มขณะที่ถอนเข็มออก
คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆ
ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา
จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อยและจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
1.เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุด
เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
ใช้ z-track techniqueในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ในทิศทางเดียวกัน
จับกระบอกฉีดขาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
เดินยาช้าๆเพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดี
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การประเมินสภาพ
ควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก
เนื่องจากมีประวัติ/ รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด
การฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง