Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
4.กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
1.การประเมินสภาพ เช่น
การแพ้ยา
โรคประจำตัว
การซักประวัติการได้รับยา
ตำแหน่งที่สามารถฉีดยาได้
อาการก่อนและหลังการได้รับยา
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เช่น
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
3.วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก 6Rs (10 Rs)
4.ปฏิบัติการพยาบาล
การเตรียมอุปกรณ์
การเตรียมยาฉีด
การฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ
5.การประเมินผล
ผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง
3.ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
6.ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
1.ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
5.จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย
2.ถามชื่อ –สกุลของผู้ป่วย รวมถึงประวัติการแพ้ยา
4.เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา
3.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนังมีดังนี้
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
5.สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศํา กับผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยา
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยา
การฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ทดสอบยา
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนังให้ปฏิบัติดังนี้
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
4)บริเวณสะบัก
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่ํางแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior superioriliac spine
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
2.ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
5.ถ้าใช้เข็มยาว ½ นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศํา
3.การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว 5/8 นิ้วให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา
4.การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
5.การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
ยาที่ใช้ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ละลายในน้ำ
มีความเข้มข้นต่ำ
มีลักษณะใส
มีความเป็นกลาง
เช่น insulin และ heparin
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) Deltoid muscle
อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของ acromion process 2 นิ้ว
มีกล้ามเนื้อมาก
ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื้อ เป็นรูปสามเหลี่ยม
2) Glutensmuscleมี 3 วิธี
วิธีที่ 1แบ่งสะโพกออกเป็น 3 ส่วน
1.ใช้ landmark 2 แห่ง
coccyx
anterior superior iliac spine
2.ลากเส้นสมมุติระหว่าง 2 จุด
3.แบ่งเส้นสมมุติออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กัน
4.ตำแหน่งที่ฉีดยาได้คือส่วนแรกนับจาก anterior superior iliac spine
5.ฉีดต่ำกว่าระดับของ iliac crest ประมาณ 2-3 นิ้วมือ
วิธีที่ 2แบ่งสะโพกออกเป็น 4 ส่วน
-ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac crest
-ด้านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้นย้อย (glutealfold)
-ด้านใน (medial) มีขอบเขตตามแนวแบ่งครึ่งจากกระดูก Coccyxแนวแบ่งครึ่งของกระดูก sacrum
-ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตามแนวด้านข้างของต้นขาและสะโพก
วิธีที่ 3ลากเส้นจาก posterior superior iliac spine
ไปยังปุ่มกระดูกต้นขา (greater trochanter of the femur)
ขนานกับ sciatic never
ตำแหน่งที่ฉีด คือ
ส่วนบนด้านนอกของเส้น
ต่ำจากขอบกระดูกเชิงกราน 2-3 นิ้วฟุต
3) วิธีหาต่ำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis
ให้แบ่งหน้าขาตามความยาว
ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดยา
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
6.โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
7.แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
5.มือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง
8.ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง
4.ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด
9.ใช้มือข้างถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย
3.ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
10.เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม
2.โดยหมุนออกจากจุดที่จะแทงเข็มให้เป็นวงกว้างประมาณ 2-3 นิ้ว :-
11.คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ
1.ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบalcohol70%
12.ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา
13.จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
14.ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว
เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุด
เหมาะสมกับชนิดของยา
ตำแหน่งที่จะฉีดยา
เดินยาช้าๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดี
กดบริเวณที่ฉีดเบาๆ หลังฉีดยา ยกเว้นมีข้อห้ําม
2.วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1.1 ยาฉีด(Medication)
1) ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำ
ใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose)
2) ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ
มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose
1.2 กระบอกฉีดยา (Syringe)
มีหลายขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
กระบอก (barrel)
ลูกสูบ (plunger)
มีทั้งชนิดที่ทำด้วย
พลาสติกซึ่งใช้แล้วทิ้ง
แก้วกระบอกฉีดยาที่ทำด้วยแก้ว
1.3 เข็มฉีดยา
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
ตัวเข็ม (shaft)
ปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
หัวเข็ม (hub)
เบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18ถึง 28
เบอร์เข็มใหญ่ ขนาดของเส้นผ่ําศูนย์กลางของตัวเข็มจะเล็ก
เบอร์เข็มเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางจะใหญ่ขึ้น
กระบอกฉีดยาเพื่อใช้ในการฉีดยา ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี้
1.ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย
ความหนืดของยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ผู้เตรียมควรปฏิบัติดังนี้
3)ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ฤทธิ์ข้างเคียง วิธีละลาย
2)อ่านและตรวจสอบรายละเอียดการให้ยา
4)คำนวณปริมาณยาอย่างถูกต้อง
5)ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด
6)ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
7)ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
1)ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
2.1วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
1.ทำความสะอาดรอบคอหลอดยาและใบเลื่อย
2.เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย
3.ถ้าหลอดยามีแถบสีที่คอหลอดยาไม่จำเป็นต้องเลื่อยคอหลอดยา
4.เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
5.คลี่สำลีชุบalcoholหุ้มรอบบริเวณคอหลอดยา
6.ทำการหักหลอดยา
7.ฉีกซองกระบอกฉีดยา
8.สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
9.ถอดปลอกเข็มออก
10.เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา
11.ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยา
12.เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะ
13.ถ้าเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนควรวางกระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง
14.แนบการ์ดยาไว้เพื่อป้องกัน
การนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
2.2วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
12.เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสม
1.เขย่ำขวดยาเบา ๆ
11.ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยา
2.ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
10.ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก
3.ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยา
9.ให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
4.สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา
8.คว่ำขวดยาลง
5.ถอดปลอกเข็มออก
7.แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
6.ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
13.ถ้าเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนควรวางกระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง
14.แนบการ์ดยาไว้เพื่อป้องกัน
การนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
2.3วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
7.ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจาก
3.ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ ด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยาฉีด
2.ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
4.ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา
1.ตรวจดูตัวทำละลายหากมีฝุ่นผง ไม่ควรนำมาใช้
5.นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
5.เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผง
6.ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้ง
1.การคำนวณขนาดยา
ประกอบด้วย 2ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนการเตรียมยา
ตัวอย่าง คำสั่งการรักษาให้ Morphine 3mgv q 6hr.
สิ่งที่ต้องเข้าใจ
ยาMorphine 1 amp มี 10 mg/ml
การฉีดยา Morphine เข้าทางหลอดเลือดดำต้องผสมให้เจือจางเป็น 10m
Morphine1 amp มี 1mlจึงใช้ sterile water จำนวน 9ml
เมื่อเจือจางเป็น 10 ccแล้ว ความเข้มข้นจะเท่ากับ10mg/10ml
Morphine 10 mg=10ml
ต้องการใช้3mg=3x10/10ml=3ml