Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
3 ตําแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
การแทงเข็มถ้าใช้เข็มยาว5/8นิ้วให้แทงเข็มทํามุม45องศาถ้าใช้เข็มยาว1⁄2 นิ้ว ให้แทงเข็มทํามุม 90 องศา
การฉีดheparinไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
ทําผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
การฉีดheparinและinsulinห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
ตําแหน่งสําหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
2) บริเวณส่วนกลางของหน้ําข
3) บริเวณหน้ําท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior
superior iliac spine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว เพรําะมี pain receptor มาก
1) บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
4) บริเวณสะบัก
3 การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) วิธีหาตําแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเน้ือต้นแขน(Deltoidmuscle)
2) วิธีหาตําแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเน้ือสะโพก(Glutensmuscle)มี3วิธี
วิธีที่ 2 แบ่งสะโพกออกเป็น 4 ส่วน โดยมีขอบเขตดังนี้
ด้านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้นย้อย (glutealfold)
ด้านใน (medial) มีขอบเขตตามแนวแบ่งครึ่งจากกระดูก Coccyx ขึ้นไปตามแนวแบ่งครึ่งของกระดูก sacrum
ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac crest
ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตามแนวด้านข้างของต้นขาและสะโพก
วิธีที่ 3 ลากเส้นจาก posterior superior iliac spine ไปยังปุ่มกระดูกต้นขา (greater trochanter of the femur) เส้นนี้จะขนานกับ sciatic never ตําแหน่งที่ฉีด
วิธีท่ี 1 แบ่งสะโพกออกเป็น 3 ส่วนใช้ landmark 2 แห่ง
3) วิธีหาตําแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเน้ือVastuslateralis(กล้ามเนื้อหน้าขา)ให้ แบ่งหน้าขาตามความยาว (จาก greater trochanter ไปยัง lateral femoral condyle) ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนท่ีเหมาะสมสําหรับฉีดยา
1 การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา
แทงเข็มทํามุม5-15องศากับผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
ใช้ปากการลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือสีดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยา
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
อธิบยาให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสําหรับฉีดยา ควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาในบริเวณที่มีการอักเสบ ช้ำบวม เป็นแผลมีก้อนแข็ง หรือเป็นอัมพาต
ถามชื่อ–สกุลของผู้ป่วยรวมถึงประวัติการแพ้ยา
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย
ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาดสวมถุงมือ
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง
6) เมื่อยาหมดให้ใช้สําลีกดตําแหน่งแทงเข็มขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
4) แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคงแทงเข็มทํามุม90องศา
7) คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆ
3) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทําผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยาแยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต
2) ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาต้ังข้ึน ไล่อากาศ
9) จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
1) ทําความสะอาดผิวหนังบริเวณท่ีจะฉีดยาด้วยสําลีชุบ alcohol70%
ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าช้ันกล้ามเนื้อ
4) จัดทำให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด
5) อย่าฉีดยาบริเวณท่ีเนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
3) ใช้Z-tracktechniqueในกํารฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเน้ือ
6) แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็วในทิศทางเดียวกัน
2) เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
7) จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
1) เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตําแหน่งท่ีจะฉีดยา
8) เดินยาช้าๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆเน้ือเยื่อได้ดีกดบริเวณที่ฉีดเบาๆหลังฉีดยายกเว้นมีข้อห้าม
4 กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
บริการยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้ยาต้องคํานึงถึงหลัก6Rs (10 Rs)
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์
การเตรียาฉีด
การฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไท่พึงประสงค์
การประเมินผล ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกคร้ัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
การประเมินสภาพ
การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยา
การแพ้ยา
โรคประจำตัว
การซักประวัติการได้รับยา
การประเมินปัจจัยอื่นๆร่วมด้วย
หากผู้ป่วยมีภาวะเกร็ดเลือดต่ำ
ควรงดให้ยาและปรึกษา แพทย์ถึงวิถีทางการให้ยาอื่นๆ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2 วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1.อุปกรณ์สำหรับ การเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
2 กระบอกฉีดยา (Syringe)
3 เข็มฉีดยา
เกณฑ์การเลือกเข็มฉีดยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ชนิดของยา เช่น ฉีดยาอินซูลิน
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย (route of administration)
ประกอบด้วย 3 ส่วน
ตัวเข็ม (shaft) เป็นส่วนที่ต่อจากหัวเข็ม
ส่วนสุดท้ายคือปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
หัวเข็ม (hub) ซึ่งมีขนาดพอดีกับปลาย กระบอกฉีดยา
1 ยาฉีด (Medication)
1) ยาท่ีบรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ําซึ่งใช้ฉีดคร้ังเดียว (single dose)
2) ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ํา มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้าบรรจุหลอด (Ampule)
6) สวมหัวเข็มสําหรับดูดยาเข้ากับปลํายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
7) ถอดปลอกเข็มออก
5) ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
8) เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ํายาดูดยาตามจํานวนที่ต้องการ
4) คลี่สําลีชุบalcoholหรือgauzeท่ีผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วหุ้มรอบบริเวณคอหลอดยา
9) ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
3) เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสําลีชุบ alcohol
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสําหรับการฉีดยานั้น ๆ
2) เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย
11) ถ้าเตรียมยาสําหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนหรือหลายชนิดพร้อมกัน
1) ทําความสะอาดรอบคอหลอดยาและใบเลื่อยด้วยสําลีชุบalcohol70%
2 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้าบรรจุขวด (Vial)
5) ถอดปลอกเข็มออกดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
6) แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
4) สวมหัวเข็มสําหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
7) คว่ำขวดยาลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ํายา
3) ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
8) ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วท่ีดันลูกสูบออก
2) ทําความสะอาดจุกขวดยาด้วยสําลีชุบalcohol70%
9) ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
1) เขย่าขวดยาเบาๆให้ยาเข้ากัน
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสําหรับการฉีดยํานั้น ๆ
11) หากเตรียมยาสําหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวาง กระบอกฉีดยา (ที่เตรียมยาแล้ว) บนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง และแนบการ์ดยาไว้
แผนกํารรักษําผู้เตรียมควรปฏิบัติดังนี้
4) คํานวณปริมาณยาฉีดที่ผู้ป่วยควรได้รับอย่างถูกต้อง
5) ดูแลบริเวณสําหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง มีแสงสว่างเพียงพอ
3) ศึกษาเกี่ยวกับขนาดฤทธิ์จ้างเคียงวิธีละลายยาในกรณีเป็นยาผง
6) ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
2) อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื่อยา วิถีทางการให้ยา วันหมดอายุของยา (Exp.date)
7) ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
1) ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
3 วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
4) ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา
5) เขย่าขวดให้ตัวทําละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
3) ดูดตัวทําละลายตามปริมาณที่ต้องการ
6) ทําความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสําลีชุบalcoholปล่อยให้alcoholแห้ง
2) ทําความสะอาดจุกขวดตัวทําละลาย
7) ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิมดูดยาออกจากขวดตามปริมากที่ต้องการ
1) ตรวจดูตัวทําละลาย
8) หกายาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมดและมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้
1 การคํานวณขนาดยา
ตัวอย่างการคำนวณ
ตัวอยที่1 คําสั่งกํารรักษําให้Morphine3mg vq6hr.
ยํา Morphine 1 amp มี 10 mg/ml (ดูได้จากข้าง amp ยา)
การฉีดยา Morphine เข้าทางหลอดเลือดดําต้องผสมให้เจือจางเป็น 10 ml
ตัวอย่างที่ 2 คําสั่งการรักษา ให้ Cloxacillin 500 mg v q 6 hr.
Cloxacillin เป็นยารูปแบบผง 1 vial = 1 gm
ใช้ sterile water 4 ml เข้าไปทําละลายตัวยารวมกับยาจะได้ 5 ml
การบริหารยาฉีดประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
1 ขั้นตอนการเตรียมยา
2 ขั้นตอนการฉีดยา