Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.2 การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
บทที่ 4.2
การบริหารยาฉีด
การคำนวณขนาดยา
การรักษา ให้ Cloxacillin 500 mg v q 6 hr.
Cloxacillin เป็นยารูปแบบผง 1 vial = 1 gm
ใช้ sterile water 4 ml เข้าไปทำละลายตัวยารวมกับยาจะได้ 5 ml
การรักษาให้ Morphine 3 mg v q 6 hr
ยา Morphine 1 amp มี 10 mg/ml (ดูได้จากข้ำง amp ยา)
การฉีดยา Morphine เข้าทางหลอดเลือดดำต้องผสมให้เจือจางเป็น 10 ml
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่ ซึ่งส่วนมากเป็นการฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ทดสอบยา
บริเวณท้องแขนด้านในของปลายแขนเป็นบริเวณที่เหมาะสมที่สุด
จำนวนยาฉีดไม่เกิน 0.5 ml แต่ส่วนมากจะฉีดไม่เกิน 0.1 ml
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ำกว่าการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาที่ใช้ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ควรมีลักษณะใส ละลายในน้ำ มีความเข้มข้นต่ำ และมีความเป็นกลาง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณส่วนกลำงของหน้าขาบริเวณสะบัก
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมี
เลือดมาเลี้ยงมาก
อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีดเข้าหลอดเลือดได้
กล้ามเนื้อเป็นเนื้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด
1) ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว
2) ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose
กระบอกฉีดยา
กระบอกฉีดยามีหลายขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
ประกอบด้วย2 ส่วนคือ กระบอก และส่วน ลูกสูบ
ได้ ในการเปิดห่อกระบอกฉีดยาต้องระวังไม่ให้ปนเปื้อน
เข็มฉีดยา
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หัวเข็ม ตัวเข็ม ปลำยเข็ม
เบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18 ถึง 28
เบอร์เข็มใหญ่ ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลาง
ของตัวเข็มจะเล็ก
เบอร์เข็มเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางจะใหญ่
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบalcohol70%
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด
เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ากัน
แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด
ตรวจดูตัวทำละลายว่ามีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคว่ำขวดยก
ส่องดู หำกมีฝุ่นผง ไม่ควรนำมาใช้
เขย่าขวดให้ตัวทำละลาย ละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการ
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
เมื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประเมินสภาพทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูล
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก6Rs (10 Rs)
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
ปฏิบัติการพยาบาล
การเตรียมอุปกรณ์
การเตรียมยาฉีด
การฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ
การประเมินสภาพ
ก่อนให้ยาควรประเมินตำแหน่งที่สามารถฉีดยาได้
การซักประวัติการได้รับยา
การแพ้ยา โรคประจำตัว