Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การประเมินสภาพ
กำรบริหารยาฉีดให้กับผู้ป่วยพยาบาลควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยารวมทั้งการประเมินอาการก่อนและหลังการได้รับยา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้จำกกำรประเมินสภาพทั้งหมดแล้ว
นำมำาจัดหมวดหมู่ข้อมูล ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาล
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์ การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก
6Rs (10 Rs)
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทาง
ต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง เพื่อป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนต่ำงๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับฉีดยา ควรหลีกเลี่ยงกำรฉีดยาในบริเวณที่มีการอักเสบ ช้ำบวม เป็นแผล มีก้อนแข็ง หรือเป็นอัมพาต
ถามชื่อ – สกุลของผู้ป่วย รวมถึงประวัติกำรแพ้ยา
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วย เปิดบริเวณที่จะฉีดยาให้กว้างพอ หากเป็นบริเวณที่ไม่ควรเปิดเผยควรปิดประตูหรือกั้นม่าน
ตรวจควมพร้อมของเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
เป็นการฉีดยาเข้ำในชั้น dermis (ชั้นหนังแท้) เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่ ซึ่งส่วนมำกเป็นการฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค
จำนวนยาฉีดไม่เกิน 0.5 ml แต่ส่วนมากจะฉีดไม่เกิน 0.1 ml
วิธีการฉีดยาเข้ำชั้นผิวหนัง
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศา กับผิวหนัง โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น และแทงเข้าไปเพียงให้ปลายตัดเข็มเลยเข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้ำไปในชั้นใต้ผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ใช้ปำกกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและบอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
เป็นกำรฉีดยาเข้ำในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ำกว่ำกำรฉีดยาเข้ำชั้นกล้ำมเนื้อ
ยาที่ใช้ฉีดเข้ำใต้ผิวหนัง ควรมีลักษณะใส ละลายในน้ำ มีความเข้มข้นต่ำ และมีความเป็นกลาง
จำนวนยาฉีดไม่เกินครั้งละ 2 ml
กำรฉีดยำเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง ให้ปฏิบัติดังนี้
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้ำชั้นใต้ผิวหนัง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชำยโครงกับแนวของ anterior
superior iliac spine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว
บริเวณส่วนกลางของหน้ำขา
บริเวณสะบัก
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม หรือการใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้ำหากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
การแทงเข็มถ้ำใช้เข็มยำว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศำ ถ้าใช้เข็มยำว ½นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศำ
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่ำปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีดเข้าหลอดเลือดได้
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) วิธีหำตำแหน่งฉีดยาเข้ำกล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle) เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของ acromion process 2 นิ้วควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ำมเนื้อ ซึ่งมีขอบเขตเป็นรูปสามเหลี่ยม
2) วิธีหำตำแหน่งฉีดยาเข้ำกล้ามเนื้อสะโพก (Glutens muscle)
วิธีที่ 1
anterior superior iliac spine และ coccyx ลากเส้นสมมุติระหว่าง 2 จุด แบ่งเส้นสมมุติออกเป็น 3 ส่วนเท่ำๆ กัน
วิธีที่ 2
แบ่งเป็นออกเป็น 4 ส่วน
ด้านบน มีขอบเขตตำมแนวของ iliac crest
ด้านล่าง มีขอบเขตตำมแนวของก้นย้อย (glutealfold)
ด้านใน (medial) มีขอบเขตตำมแนวแบ่งครึ่งจากกระดูก Coccyx ขึ้นไปตำมแนวแบ่งครึ่งของกระดูก sacrum
ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตำมแนวด้านข้างของต้นขาและสะโพก
วิธีที่ 3
ตำแหน่งที่ฉีด คือ ส่วนบนด้านนอกของเส้น ต่ำจำกขอบกระดูกเชิงกราน 2-3 นิ้วฟุต
3) วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ำกล้ามเนื้อ Vastus lateralis (กล้ามเนื้อหน้าขา)
แบ่งหน้าขาตามความยาว (จาก greater trochanter ไปยัง lateral femoral condyle) ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดยา
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง ด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด และใช้มือข้างถนัดดึงลูกสูบขึ้นเล็กน้อย ถ้ำไม่มีเลือดเข้ามาในกระบอกฉีดยา ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือข้ำงถนัดดันลูกสูบเดินยาช้า ๆ
6) เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
4) แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
7) คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้ด้วย
3) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้ำงถนัด ส่วนมือข้ำงไม่ถนัดทาผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต หรือภาชนะสำหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนำเข็มไปทำลายต่อไป
2) ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
9) จัดเสื้อผ้ำผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
1) ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยหมุนออกจากจุดที่จะแทงเข็มให้เป็นวงกว้างประมำณ 2-3 นิ้ว ปล่อยให้ alcoholแห้ง
ล้างมือให้สะอาด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด จะช่วยบรรเทาความเจ็บปวดและไม่สุขสบายลงได้
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้ำชั้นกล้ามเนื้อ จะทำให้ผู้ป่วยเจ็บปวดน้อยลงกว่าวิธีฉีดเข้ำกล้ามเนื้อแบบดั้งเดิม
แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ในทิศทางเดียวกัน
เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตำแหน่งที่จะฉีดยา
เดินยาช้ำๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดี กดบริเวณที่ฉีดเบำๆ หลังฉีดยา ยกเว้นมีข้อห้าม
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
การฉีดยาให้กับผู้ป่วยพยาบาลจะต้องทำการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ ไว้เพื่อให้ได้ยาที่ถูกชนิด และขนาด โดยปรำศจำกเชื้อ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด (Medication)
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยำน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose) ถ้าใช้ไม่หมดต้องทิ้งไป
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ
กระบอกฉีดยา (Syringe)
กระบอกฉีดยามีหลำยขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
ประกอบด้วย2 ส่วนคือ กระบอก (barrel) และ สูบ(plunger)
เข็มฉีดยา
ประกอบด้วย 3 ส่วน
ตัวเข็ม (shaft) เป็นส่วนที่ต่อจากหัวเข็ม
ปลายเข็ม (bevel or slanted tip)
หัวเข็ม (hub) ซึ่งมีขนาดพอดีกับปลายกระบอกฉีดยา
กำรเลือกเข็มฉีดยา ให้พิจำรณาจากความลาดเอียงหรือความยาวของปลายปาด ความยาวของตัวเข็มฉีดยา
เบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18 ถึง 28 ถ้าเบอร์เข็มใหญ่ ขนาดของเส้นผ่ำศูนย์กลางของตัวเข็มจะเล็ก
การฉีดยาขึ้นอยู่กับเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ทางที่ให้ยาเข้ำสู่ร่างกาย (route of administration)
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
1) ซักถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย
3) ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ฤทธิ์ข้างเคียง วิธีละลายยาในกรณีเป็นยาผง
4) คำนวณปริมาณยาฉีดที่ผู้ป่วยควรได้รับอย่างถูกต้อง
5) ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง มีแสงสว่างเพียงพอ
6) ตรวจดูความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
7) ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ
2) อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื่อยา วิถีทางการให้ยา
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
6) สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ำกับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่น
พอประมาณ
7) ถอดปลอกเข็มออก จับหลอดยาด้วยมือข้ำงที่ไม่ถนัด ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้ำงที่ถนัด สอดเข็มเข้ำหลอดยา ระวังมิให้เข็มสัมผัสกับด้านนอกและปากหลอดยา
5) ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
8) เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
4) คลี่สำลีชุบalcoholหรือ gauze ที่ผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วหุ้มรอบบริเวณคอหลอดยา
9) ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งหนึ่งก่อนทิ้งหลอดยา
3) เช็ดรอบคอหลอดยาด้วยสำลีชุบ alcohol
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
2) เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอย โดยคลี่สำลีชุบ alcohol รองหลังคอหลอดยา
11) ถ้ำเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลำยคนหรือหลำยชนิดพร้อมกัน ควรวาง
กระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง
1) ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบalcohol70%
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
6) แทงเข็มเข้ำจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อำกาศเข้ำขวดยาจนหมด
7) คว่ำขวดยาลง โดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
5) ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากำศเข้ำกระบอกฉีดยาเท่ำปริมาณยาที่ต้องการ
8) ค่อย ๆ ปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยำจำกขวดจะไหลเข้ำมาในกระบอกฉีดยา
4) สวมหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ำกับปลายกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่น
พอประมาณ
9) ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
3) ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
10) เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้น ๆ
2) ทำความสะอาดจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70% โดยวิธีหมุนจากจุดที่แทงเข็มวนออกด้านนอกจนถึงคอขวดยา
11) หากเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวำงกระบอกฉีดยา (ที่เตรียมยาแล้ว) บนถำดที่มีผ้าสะอาดปูรอง
1) เขย่าขวดยาเบา ๆ ให้ยาเข้ำกัน
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
3) ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ ด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด
4) ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยาออกจำกขวดยา นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
4) ถอนเข็ม และกระบอกฉีดยำออกจากขวดยา นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
2) ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบ
alcohol70% จนถึงคอขวด ปล่อยให้ alcohol แห้ง
5) เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
1) ตรวจดูตัวทำละลาย (น้ำกลั่นหรือน้ำเกลือ) ว่ามีฝุ่นผงหรือไม่
6) ทำความสะอาดจุกขวดยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบalcoholปล่อยให้ alcohol แห้ง
7) ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการ
8) หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมด และมีอายุที่จะเก็บไว้ใช้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้ เกี่ยวกับความเข้มข้นของยา วัน เดือน ปีที่ละลาย ผู้ละลาย และเก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากยา