Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก 6 Rs
ปฏิบัติการพยาบาล
ตามอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด
การฉีดยาตามวิถีทางต่างๆ ตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลที่ได้จาการประเมินสภาพทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูล ให้การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผล
การประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การประเมินสภาพ
ควรมีการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยา
ประเมินตำแหน่งที่สามารถฉีดยาได้
ประเมินอาการก่อนและหลังการได้รับยา
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ฉีดยาในชั้น dermin บริเวณท้องแขนด้านในของปลายแขน
ฉีดเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค ทดสอบยาหรือสารต่างๆ
จำนวนยาไม่เกิน 0.5 ml ใช้กระบอกยาชนิด tuberculin syringe
วิธีการฉีดยา
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศากับผิวหนัง
หงายปลายเข็มขึ้นให้ปลายเข็มเลยเข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้น
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ชั้นใต้ผิวหนังมี pain receptor ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บ
ยาควรมีลักษณะใส ละลายน้ำ มึความเข้มข้นต่ำ เป็นกลาง
ยาดูดซึ้มได้เร็วกว่าการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ตำแหน่ง
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior superior iliac spine
บริเวณสะบัก
ฉีดยาเข้าใต้ชั้น subcutaneous tissue
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสำหรับการฉีดยา
ถามชื่อ-นามสกุล ประวัติการแพ้ยา
จัดท่าและเสื้อผ้าของผู้ป่วย ตามความเหมาะสม
เตรียมความพร้อมของเครื่องใช้
ล้างมือและสวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเป็นเนื้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี
การหาตำเเหน่งฉีดยา
กล้ามเนื้อสะโพก
ตำแหน่งที่ฉีดยาคือส่วนแรกนับจาก anterior superior iliac โดยฉีดต่ำกว่าระดับของ iliac crest ประมาณ 2-3 นิ้วมือ
แบ่งสะโพกเป็น 3 ส่วนใช้ landmark 2 แห่ง คือ anterior superior iliac และ coccyx
กล้ามเนื้อต้นแขน
เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของ acromion process 2 นิ้ว
ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ vastus lateralis ให้แบ่งหน้าขาตามความยาว ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางเป็นส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดยา
วิธีการฉีดยา
ถอนแข็งออกด้วยความเร็ว
คลึงบริเวณที่ฉีดยาเบาๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็ว และลดอาการเจ็บปวด
แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง ทำมุม 90 องศา
ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก
การฉีดยา
เพื่อรักการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ทดสอบการแพ้ยาและสารบางชนิด
เพื่อการวินิจฉัยโรค
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิอต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด
Single dose
เป็นยาน้ำที่ใช้ฉีกครั้งเดียว ถ้าใช้ไม่หมดก็ต้องทิ้งไป
เมื่อหลอดยาถูกหักแล้วจะไม่สามารถรักษาให้อยู่ในสภาพปราศจากเชื้อได้
ยาที่บรรจุในขวด
มีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีแบบ single dose และ mulitiple dose
ขาวยาจะมีชื่อยา ปริมาณยา วิถีทางให้ยา วันหมดอายุของยา
ยาฉีดบางชนิดที่เป็นผง จะบอกชื่อ และปริมาณของตัวทำละลายไว้ด้วย
กระบอกฉีดยา
กระบอกฉีดยามีขนาดตั้งแต่ 0.5-50 ml
กระบอกฉีดยาประกอบด้วย 2 ส่วน คือ กระบอกและลูกสูบ
กระบอกฉีดยาชนิดที่ทำจากพลาสติกจะใช้แล้วทิ้ง
กระบอกฉีดยาที่ทำจากแก้วสามารถล้างสะอาด ปราศจากเชื้อแล้วกลับมาใช้ใหม่ได้
เข็มฉีดยา
บริเวณหัวเข็มสามารถจับต้องได้
ส่วนของตัวเข็มและปลายเข็มจับต้องไม่ได้เพราะต้องปราศจากเชื้อ
เกณฑ์การเลือกใช้เข็ม
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย
ความหนืดของยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา เพราะยาบางชนิดต้องใช้เข็มเฉพาะตัว
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
เตรียมอุปกรณ์เพิ่มเติ่ม เช่น ถาด ผ้ารองถาด อับสำลี กระปุก forceps card และยา
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
ซักถามประวัติการแพ้ยา
อ่านและตรวจสอบรายละเอียดบนขวดยาหรือหลอดยาเกี่ยวกับชื่อยา วิถีทางการให้ยา วันหมดอายุของยา
ศึกษาเกี่ยวกับขนาด ฤทธิ์ข้างเคียง วิธีการละลายยาในกรณีเป็นยาผง
ดูแลบริเวณสำหรับเตรียมยาให้สะอาด แห้ง มีแสงสว่างเพียงพอ
ตรวจความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้
ล้างมือให้สะอาด เช็ดมือ