Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
วางแผนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
ปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง(Intradermal injection)
การฉีดยาเข้าในชั้นหนังแท้ เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่ ส่วยมากฉีดเพื่อใช้วินิจฉัยโรค ทดสอบยา หรือสารต่างๆ ที่ฉีดจะถูกดูดซึมช้าที่สุด
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
แทงเข็มทำมุม 5-15 องศากับผิวหนัง โดยหงายปลายตัดเข็มขึ้น และแทงเข้าไปเพียงให้ปลายตัดเข็มเลยเข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
ผิวหนังให้ตึง
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมา ถ้าไม่มีตุ่มนูน แสดงว่าฉีดลึกเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ำเงินหรือดำ เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและบอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง(Subcutaneous injection)
ยาถูกดูดซึมได้ช้ากว่าการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ในชั้นใต้ผิวหนังมี pain receptor อาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดมากกว่า ยาที่ใช้ควรมีลักษณะใส ละลายน้ำ ความเข้มข้นต่ำ และมีความเป็นกลาง
ส่วนมากใช่ insulin และ heparin จำนวนยาฉีดไม่เกินครั้งละ 2 ml ในแต่ละบริเวณ
วิธีการฉีด
ตำแหน่งสำหรับฉีด
บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ anterior iliac apine ยกเว้นบริเวณรอบสะดือ 1 นิ้ว เพราะมี pain receptor
บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
บริเวณสะบัก
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม หรือการใช้นิ้วมือจับรวบเนื้อเยื่อบริเวณที่จะฉีดเข้าหากัน แต่วิธีหลังนี้จะไม่ใช้ในการฉีด heparin
การแทงเข็มถ้าใช้ยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม45องศา ถ้าใช้เข็มยาว1/2นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก แต่อาจเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีดเข้าหลอดเลือดได้ เนื่องจากกล้ามเนื้อเป็นเนื้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี ยามีความเหนียวข้น และระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ หรือมีส่วนผสมของน้ำมัน
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
หาตำแหน่งตรงกล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle) เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าขอบล่างของ acromion process 2 นิ้ว เป็นบริเวณที่มีกล้ามเนื้อมาก ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีขอบเขตเป็นรูปสามเหลี่ยม
หาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก (Glutens muscle)
วิธีหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis(กล้ามเนื้อหน้าขา) ให้แบ่งหน้าขาตามความยาว ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางคือส่วนที่เหมาะสมสำหรับฉีดยา
วิธีการฉีด
ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กางออกขณะกดลงบนผิวหนัง
แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม90องศา
ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม ขณะที่ถอนเข็มออกด้วยความรวดเร็ว
ทำความสะอาดผิวหนังที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบแอลกอฮอลล์70% โดยหมุนออกจากจุดที่จะแทงเข็มเป็นวงกว้าง 2-3 นิ้ว ปล่อยให้แอลกอฮอลล์แห้ง
คลึงบริเวณฉีดยาเบาๆเพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวดได้ด้วย
ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไตหรือภาชนะสำหรับทิ้งเข็มโดยเฉพาะเพื่อนำเข็มไปทำลายต่อไป
จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
ล้างมือให้สะอาด
ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคงด้วยมือข้างที่ไม่ถนัดและใช้มือข้างถนัดดันลูกสูบขึ้นเล็กน้อย เพื่อทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่ ถ้าไม่มีเลือดเข้ามาในกระบอกฉีดยา ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างถนัดดันลูกสูบเดินยาช้าๆ
การบรรเทาความเจ็บปวด
จัดท่าให้ผู้ป่วยผ่อนคลายที่สุด จะช่วยบรรเทาความเจ็บปวดและไม่สุขสบายลงได้
อย่าฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
ใช้Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ จะทำให้ผู้ป่วยเจ็บปวดน้อยลงกว่าวิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อแบบดั้งเดิม
แทงเข็มและดึงออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็วในทิศทางเดียวกัน
เข็มที่ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบภายนอก เพราะยาจะระคายเคืองเนื้อเยื่อที่เข็มแทงผ่าน
จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยาและตำแหน่งที่จะฉีดยา
เดินยาช้าๆเเพื่อให้ยากระจายไปรอบๆเนื้อเยื่อได้ดี กดบริเวณที่ฉีดเบาๆหลังฉีดยายกเว้นมีข้อห้าม
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด(Medication)
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำใช้ฉีดครั้งเดียว(single dose)ถ้าใช้ไม่หมดต้องทิ้งไป
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดเป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และ multiple dose
กระบอกฉีดยา
กระบอกฉีดยามีหลายขนาดตั้งแต่0.50-50ml ประกอบด้วย 2ส่วน คือ กระบอก(barrel)ซึ่งมีปลาย (tip)ที่มีขนาดพอดีกับหัวเข็มฉีดยา ส่วนที่สองคือลูกสูบ(plunger)
เข็มฉีดยา
ประกอบด้วย 3 ส่วน
หัวเข็ม(hub)
ตัวเข็ม(shaft)
ปลายเข็ม(bevel or slanted tip)
การเลือกเข็มฉีดยา
พิจารณาจากความลาดเอียงหรือความยาวของปลายปาด ความยาวของตัวเข็มและเบอร์เข็ม มีตั้งแต่เบอร์ 18-28 เบอร์ใหญ่ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางจะเล็ก
ส่วนมากทำจาก Stainless steel และเป็นชนิดใช้ครั้งเดียว
เกณฑ์
ทางที่ให้ยาเเข้าสู่ร่างกาย
ความหนืดของยา
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
วิธีการเตรียมยาฉีด
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด(Ampule)
เช็ดรอบคอบหลอดยาด้วยสำลีชุบalcohol
สวนหัวเข็มสำหรับดูดยาเข้ากับกระบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาาณ
ฉีกซองกระบอกฉีดยาโดยระวังการปนเปื้อน
ถอดปลอกเข็มออกจับหลอดยาด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างที่ถนัดสอดเข็มเข้าหลอดยา ระวังไม่ให้เข็มสัมผัสกับปลายหลอดยา
คลี่สำลีชุบalcoholหรือgauzeที่ผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วหุ้มรอบคอหลอดยา
เอียงหลอดยาให้ปลายตัดเข็มจุ่มในน้ำยา ดูดยาตามจำนวนที่ต้องการ
เลื่อยรอบคอหลอดยาพอเป็นรอยโดยคลี่สำลีชุบalcohol70% รองหลังคอหลอดยาถ้ามียาค้างอยู่เหนือคอหลอดยาต้องไล่ยาลงไปอยู่ส่วนใต้คอหลอดยา
ตรวจสอบชื่อยาบนหลอดยาอีกครั้งก่อนทิ้งหลอดยา
ทำความสะอาดรอบคอหลอดยา และใบเลื่อยด้วยสำลีชุบalcohol 70%
เปลี่ยนเข็มใหม่เลือกขนาดความยาวที่เหมาะสม
ถ้าเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคนหรือหลายชนิดพร้อมกันควรวางกระบอกฉีดยาที่เตรียมยาแล้วบนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง และมีการ์ดยาแนบกระบอกฉีดยาไว้้
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด(Vial)
คว่ำขวดยาลงโดยให้นิ้วดันลูกสูบอยู่ ปรับให้ปลายตัดเข็มอยู่ในน้ำยา
แทงเข็มเข้าจุกยางใช้นิ้วหัวแม่มือดันลูกสูบให้อากาศเข้าขวดยาจนหมด
เขย่าขวดเบาๆให้ยาเข้ากัน
ค่อยๆปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก น้ำยาจากขวดจะไหลเข้ามาในกระบอกฉีดยา เมื่อได้ปริมาณที่ต้องการ ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากจุกขวดยา
ทำความสะอาดจุกขวดด้วยสำลีชุบalcohol70% โดยวิธีแทงเข็มวนออกด้านนอกจนถึงคอขวดยา
ตรวจสอบชื่อยาบนขวดยาอีกครั้งหนึ่ง
สวมหัวเข็มสำหรับดูดยากับปลายประบอกฉีดยา บิดหัวเข็มให้แน่นพอประมาณ
ฉีกซองห่อกระบอกฉีดยาโดยระวังมิให้เกิดการปนเปื้อน
ถอดปลอกเข็มออก ดูดอากาศเข้ากระบอกฉีดยาเท่าปริมาณยาที่ต้องการ
หากเตรียมยาสำหรับฉีดผู้ป่วยหลายคน หรือหลายชนิดพร้อมกัน ควรวางกระบอกฉีดยา บนถาดที่มีผ้าสะอาดปูรอง และแนบการ์ดยาไว้ป้องกันการนำยาผิดชนิดไปฉีดให้ผู้ป่วย
เปลี่ยนเข็มใหม่ เลือกขนาด และความยาวที่เหมาะสมสำหรับการฉีดยานั้นๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด(วิธีละลายยา)
ถอนเข็มและกระบอกฉีดยาออกจากขวดยา นำปลอกเข็มที่ถอดออกมาสวมครอบเข็มไว้
เขย่าขวดให้ตัวทำละลายละลายผงจนหมดเป็นเนื้อเดียวกัน
ดูดตัวทำละลายตามปริมาณที่ต้องการ ด้วยวิธีเดียวกับการเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด เมื่อได้ตัวทำละลายแล้วให้ฉีดตัวทำละลายเข้าในขวดยาผง โดยแทงเข็มเข้าจุกขวดยาแล้วดันลูกสูบ ให้ตัวทำละลายเข้าไปในขวดจนหมด หลังจากนั้นปล่อยนิ้วที่ดันลูกสูบออก อากาศที่ถูกแทนที่ด้วยตัวทำละลายจะเข้ามาในกระบอกฉีดยาจนหมด ความดันในขวดยาจะเท่ากับความดันในบรรนยากาศ
ทำความสะอาดจุดขวดยาอีกครั้งด้วยสำลีชุบalcoholปล่อยให้แห้ง
ทำความสะอาดจุกขวดตัวทำละลาย และจุกขวดยาด้วยสำลีชุบalcohol 70%จนถึงคอขวดปล่อยให้แห้ง
ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเข็มชุดเดิม ดูดยาออกจากขวดตามปริมาณที่ต้องการ
ตรวจดูตัวทำละลายว่ามีฝุ่นผงหรือไม่ โดยคว่ำขวดยกส่องดู หากมีฝุ่นผง ไม่ควรนำมาใช้
หากยาที่ละลายแล้วใช้ไม่หมดและมีอายุที่จะเก็บไว้ได้ให้เขียนฉลากติดขวดไว้เกี่ยวกับความเข้มข้นของยา วัน เดือน ปี ที่ละลาย ผู้ละลาย และเก็บยาไว้ในที่ที่เหมาะสมตามสลากที่แนบมากับยา
การคำนวณขนาดยา
เทียบบัญญัติไตรยางค์