Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gut obstruction (ลำไส้อุดตัน), นางสาวสุภลักษณ์ ศรีชนะ เลขที่ 85 ห้อง 2A…
Gut obstruction
(ลำไส้อุดตัน)
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยเพศ : หญิง
อายุ : 76 ปี
เชื้อชาติ : ไทย
สัญชาติ : ไทย
ศาสนา : พุทธ
ระดับการศึกษา : ไม่ได้ศึกษา
สถานภาพ : สมรส
สิทธิค่ารักษาพยาบาล : สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านเลขที่ 21 หมู่ 1 ต.ขุนศรี อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี
ภูมิลำเนาเดิมจังหวัด : นนทบุรี
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ปวดจุก แน่นท้อง ท้องบวมโตมากขึ้น จึงนำส่งโรงพยาบาล ผายลมได้ ขับถ่ายปกติ
พยาธิสภาพ
การอุดกั้นที่ลำไส้ส่วนต้นมักพบบริเวณดูโอดีนัมหรือเจจูนัมส่วนต้นทำให้มีอาการอาเจียนซึ่งจะมีน้ำดีปนออกมาการอุดกั้นที่ลำไส้ส่วนเจจูนมส่วนล่างและไอเลียมจะมีอาการอาเจียนออกมาคล้าย ๆ อุจจาระมักมีอาการปวดเกร็งรอบ ๆ สะดือ
การอุดกั้นที่ลำไส้ส่วนปลายมักพบบริเวณไอเลียมทำให้มน้ำและแก๊สคั่งค้างอยู่ในลำไส้ส่วนเหนือบริเวณที่อุดกั้นทำให้เกิดการขยายและพองออกและขับหลั่งสารต่างๆออกมาจากผนังลำไส้มีการหดเกร็งของลำไส้เล็กทำให้มีเลือดมาเลี้ยงผนังลำไส้น้อยลงอาจมีแผลที่ผนังลำไส้และผนังแตกทะลุและมีการเน่าตายของลำไส้เนื่องจากเลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
การอดอาหารล่วงหน้า (NPO)
การแนะนำการเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป
ความสะอาดเฉพาะบริเวณที่จะทำการผ่าตัด
สอนและให้ฝึกพัฒนากล้ามเนื้อโดยนักกายภาพบำบัดตั้งแต่ก่อนทำการผ่าตัด
แนะนำเทคนิคการลดความวิตกกังวล
ให้ข้อมูลถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นหลังการผ่าตัดและวิธีการป้องกัน
ฝึกไออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อช่วยลดภาวะแทรกซ้อนทางปอดหลังการผ่าตัด
สอนวิธีการจัดการกับความเจ็บปวด (Pain Management) โดยเน้นการระงับความเจ็บปวดโดยใช้ยาให้น้อยที่สุด
ช่วยประเมินสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและการจัดสภาพแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะพร่องสารอาหาร ไม่สมดุลของน้ำและอิเล็คโตรลัยต์เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ อาเจียนหรือท้องเสีย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะพร่องโภชนาการและความรุนแรงของภาวะพร่องโภชนาการ ได้แก่ อ่อนเพลีย ผอม ซีด น้ำหนักลด ระดับอัลบูมินและโปรตีนในเลือด ประเมินดัชนีมวลกาย
ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากพร่องความรู้ในการดูแลตนเองก่อนและหลังผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้ป่วย
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้อง แน่นท้อง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรุนแรงของความปวดทุก 2-4 ชม. ด้วยการสังเกตและใช้ประเมินความปวด เพื่อติดตามความรุนแรงของความปวด
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ปวดท้อง แน่นอึดอัดท้อง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
การวินิจฉัยโรคแรกรับ (First Diagnosis) และความหมาย : Gut obstruction (ลำไส้อุดตัน)
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน และความหมาย : Gut obstruction (ลำไส้อุดตัน)
อาการและอาการแสดงในปัจจุบัน
วันที่ 13/07/63
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สามารถถามตอบได้ เคลื่อนไหวร่างกายได้เล็กน้อย มีอาการปวดจุก แน่นท้อง ท้องบวมโต กดไม่เจ็บ อ่อนเพลีย T = 37.1 องศาเซลเซียส P = 72 ครั้ง/นาที R = 20 ครั้ง/นาที BP = 121/84 mmHg on O2 cannular 3 LPM on Foley catheter
สาเหตุ
ภาวะลำไส้ตีบตัน (Mechanical Obstructions)
: มีการอุดตันของทางเดินของลำไส้
: เกิดพังผืดในลำไส้
: ปัจจัยต่าง ๆ เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ เนื้องอกในลำไส้เล็ก ไส้เลื่อน นิ่วในถุงน้ำดี เป็นต้น
ภาวะลำไส้อืด (Nonmechanical Obstructions)
: ภาวะการทำงานผิดปกติของลำไส้ ไม่สามารถบีบตัวและเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ส่งผลต่อการทำงานของระบบขับถ่าย หรือเรียกภาวะนี้ว่า Paralytic Ileus โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ การผ่าตัดในช่องท้องหรืออุ้งเชิงกราน การติดเชื้อ เช่น กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ ไส้ติ่ง เป็นต้น การใช้ยาบางชนิด ความไม่สมดุลของแร่ธาตุและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อและระบบประสาท
นางสาวสุภลักษณ์ ศรีชนะ เลขที่ 85 ห้อง 2A รหัส 613601091