Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการและความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม🇹🇭📧🌈✨🧸💕💁🏻♀️🇯🇵…
แนวคิดหลักการและความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
🇹🇭📧🌈✨🧸💕💁🏻♀️🇯🇵🇰🇷
3.1 ความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
อธิบาย
การพยาบาลเน้นการให้คุณค่า ปฎิบัติโดยเปรียบเทียนความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรม วิเคราะห์พฤติกรรมการดูแล และ การให้บริการ ค่านิยม แบบแผนของพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้ตอบสนองแบบแผนพฤติกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
อธิบาย
ความเข้าใจบริบทของสังคมภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกัน ขนบธรรมเนียม ที่ต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม cross cultural study และ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม Inter - cultural study
แนวทางที่ได้มาซึ่งความรู้องค์รวม ที่จะช่วยอธิบายถึงความแตกต่างของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของสังคม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวสรรษที่ 21 ยุคโลกาภิวัฒน์ Globalization
สังคมมีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการ เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดนการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและโครงสร้างทางสังคมอย่างรวดเร็ว
มีนโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆมากขึ้น
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริหารสุขภาพ
รูปแบบบริการที่มีอยู่ จึงต้องมีหลากหลายรูปแบบหรือมีการปรับเปลี่ยนทั้งในแนวคิด วิธีการ ซึ่งจะเป็นจะต้องอาศัยองค์รวมความรู้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ปฎิบัติการพยาบาลข้ามวัฒธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
"ข้าม" วัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งเน้นกระบวนการและวิธีคิดของคนหรือกลุ่ม
Cross cultural การศึกษาความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
Transcutural เป็นการเน้นการเข้าไปอยู่ด้วยและมีการเชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ พฤติกรรม วาจา ลักษณะนิสัยของคน หรือ คนในชาติ ลักธิ ความเชื่อ ภาษา ขนบธรรมเนียมและเพณี อาหารการกิน เครื่องใช้ไม้สอย ศิลปะต่างๆ การปฎิบัติในสังคมและผลผลิต
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม Transcultural Nursing
3.2 วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกัน และ ในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคำตอบเกีี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
3.3 แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
อธิบาย
การพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์
สมรรถนะที่จะจำเป็นในการพยาบาลในความหลากหลายทางวัฒนธรรม คือ พยาบาลมีการมีความไวทางวัฒนธรรม
การพยาบาลโดนยึดหลักผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
4.องค์กรมีความไวทางวัฒนธรรม เช่น การจะดหาล่ามสำหรับการสื่อสารไว้อย่างเป็นระบบ อบรมเกี่ยวกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้บุคลากร มีป้ายหรือสัญญาลักษณ์หลายภาษา
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐานร่วมกับการนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการมาวางแผน การพยาบาล และ ให้การพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
ผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน ร่วมกับการนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมขอวผู้รับบริการมาวางแผน การพยาบาล และ ให้การพยาบาลอย่างมีประสทิธิภาพ
หากพยาบาลมีความไว Sensitive ในการรับรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ เข้าใจ และ ตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการทางวัฒนธรรมได้มากเพียงใดจะส่งเสริมให้ประสิทธิภาพในการให้พยาบาลได้อย่างมีประสทิธภาพ
สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
เป็นการผสมผสานแนวคิดทางการพยาบาลแบบองค์รวม Holistic Nursing กับ แนวคิดมนุษยวิทยา Anthropology โดยกล่าว ตามกรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ
ด้านบุคคล ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดาเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล ควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทางสังคม และ ทางวัฒนธรรม เช่น ค่านิยม บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
ด้านการพยาบาล โดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
3.3.1 แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม (HUMANISM) เน้นการให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์(LIBERAL, HUMANIST PERSPECTIVE)เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆการเคารพนับถือและให้คุณค่าของมนุษย์โดยยึดหลักจริยธรรมเป็นหัวใจสาคัญของคุณภาพในการดูแลสุขภาพ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE) เน้นความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลาการค้นหาความจริงต้องผ่านตัวคนโดยใช้ระบบคุณค่า การตีความ การรับรู้ความรู้สึกของคนจึงช่วยให้เห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่มีสังคมวัฒนธรรมแตกต่างเช่นเชื้อชาติ ชาติพันธ์ บทบาทเพศชนชั้นทางสังคมและความสัมพันธ์เชิงอานาจในสถาบันหรือองค์กรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือประชากรที่ศึกษา
3.3.2 ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม (CAMPESINO, 2008)
•แนวคิดมนุษยนิยม (HUMANISM) เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระมีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆการเคารพนับถือและ ให้คุณค่าของมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE)
•มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลาการค้นหาความจริงต้องผ่านตัวคนโดยใช้ระบบคุณค่าการตีความการรับรู้ความรู้สึกของคนจึงช่วยให้เห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่มีสังคมวัฒนธรรมแตกต่าง
ตัวอย่าง : เชื้อชาติชาติพันธ์บทบาทเพศชนชั้นทางสังคมและความสัมพันธ์เชิงอ านาจในสถาบันหรือองค์กรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือประชากร
•แนวคิดปฏิฐานนิยม (POSITIVIST PHILOSOPHICAL PERSPECTIVE) เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
3.3.4 ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมที่พบบ่อยและควรคํานึงถึง
ตัวอย่าง
•เลือกบุคคลและวิธีการที่เป็นธรรมชาติ(เยี่ยมถึงเตียงไปถึงบ้านมากกว่านัดมาพบ)
•การดูแลสุขภาพด้วยตนเองและสมาชิกครอบครัวนิยมซื้อยารับประทานเอง และพึ่งยาพื้นบ้านเป็นหลัก
•หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฏอนหรือถือศีลอด
•มีความเชื่อในการอธิบายโรคเรื้อรังไม่หายว่ามีสาเหตุจากอ านาจนอกเหนือธรรมชาติเป็นหลักเช่นเรื่องผีโชคชะตาบุญกรรม
•หลีกเลี่ยงการใช้ภาษากลางหรือศัพท์ทางวิชาการที่ขัดต่อความเชื่อเช่นเลี่ยงการใช้ค าว่า การคุมก าเนิด การท าหมัน แต่ใช้ค าว่า เว้นช่วงการมีลูก
•ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นที่พึ่งหลักของการด าเนินชีวิตและกลไกแห่งการเชื่อมร้อยคน
การใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสมเช่นก๊ะม๊ะไม่ใช่ ป้า แม่, จ๊ะ คือพี่,ไม่เรียกว่า แขก
•การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
WHO ผู้ใช้บริการของเราคือใคร? กลุ่มผู้บาดเจ็บสตรีมุสลิมผู้พิการเปราะบางกลุ่มผู้สูงอา
WHEN & WHERE เราควรปฏิบัติต่อผู้ใช้บริการที่ไหน? เวลาพบปะสถานที่ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ •
•วิธีการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริกา
HOW เราควรเข้าถึงผู้ใช้บริการอย่างไร? ภาษาท่าทางการสื่อสารการใช้ล่าม
สรุปแนวคิดในการพยาบาลผู้ใช้บริการในยุค "สังคใพหุวัฒนธรรม"
•ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม
•กรอบแนวคิด และการประยุกต์ใช้
•ปรัชญาความเชื่อเกี่ยวกับการศึกษาวัฒนธรรม
•การวิเคราะห์และ ตีความทาง วัฒนธรรม
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับข้ามวัฒนธรรมขึ้นอยู่กับ
แนวนโยบาลของประเทศ Policy
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมรวมกลุ่ม Collective society เน้นความเป็นองต์รวมหรือกลุ่มมากกว่ารายบุคคล
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่ Isolate society เน้นความเป็นส่วนบุคคลมากกว่าแบบกลุ่ม
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในกระบวนการพยาบาล Nursing process
1.Nursing Assessemntประเมินข้อมูลดูวิถีชีวิตแนวคิดและความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
2.Nursing diagnosis วินิจฉัยการพยาบาลใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
3.Nursing care plan วางแผนการพยาบาล กระท าตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมครอบครัวและเน้นการมีส่วนร่วม 4.Nursing care ปฏิบัติการพยาบาลการดูแลควรคานึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก 5.Nursing evaluation ประเมินผล–ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทาให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตายอย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
สรุปหลักการสาคัญในการพยาบาลผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม(4A 2I SE)
•Acknowledging the nurse and client’s cultural heritage ให้ความสาคัญและเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิหลังของพยาบาลและผู้ใช้บริการซึ่งกันและกัน
Avoiding prejudice and cultural bias หลีกเลี่ยงความล าเอียงและอคติหรืออุปทานเกี่ยวกับวัฒนธรรม
•Assessing the client’ view of the situation ประเมิน มุมมองหรือทัศนะในสถานการณ์หรือสภาวะที่ผู้ใช้บริการประสบอยู
•Avoiding Language Barriers หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสื่อสารด้านภาษา
•Involving all family members ให้ครอบครัวมีส่วนร่วม ตลอดกระบวนการ
•Supporting nutritional preference ให้การสนับสนุนด้านอาหารหรือโภชนาการที่ชอบ
•Identifying significant others ก าหนดบุคคลหรือสิ่งส าคัญที่มีความหมายต่อวิถีชีวิต
•Evaluation nursing actions ประเมินผลการกระท า
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดร่วมสมัย
•สะท้อนถึงการให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางการปฏิบัติการพยาบาลใดๆจะพิจารณาถึงวิถีชีวิตความเชื่อความเข้าใจภาษาตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของผู้ป่วยครอบครัว และชุมชนร่วม
•การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นการพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม สามารถสร้างความสมดุลกลมกลืนให้มนุษย์ได้
•สมรรถนะที่จาเป็นในการพยาบาลในความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่สาคัญคือ การมีความไวทางวัฒนธรรมและการเข้าใจวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
หลักการ 6 ประการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
4.การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคมเช่น ศาสนา เศรษฐกิจ และการศึกษาซึ่งให้ความหมายและระเบียบวัฒนธรรมแก่กลุ่มชน
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความส าคัญกับวัฒนธรรม
3.การดูแลทางด้านวัฒนธรรมคือคุณค่าความช่วยเหลือประคับประคองเพิ่มความสามารถ ปรับปรุงสภาพการณ์ส่วนบุคคล การเผชิญความตายความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
6.การจัดกิจกรรมการพยาบาล
6.1. การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรมคือตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจงเพื่อดารงไว้ซึ่งสุขภาพหายจากการเจ็บป่วย และเผชิญความตาย
6.2.การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรมคือช่วยเหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจง
6.3.การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรมคือตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้เข้ากับแบบแผนชีวิตใหม่ที่แปลกแตกต่าง
2.การดูแลคือพฤติกรรมการช่วยเหลือสนับสนุนเพิ่มความสามารถเกิดการพัฒนาเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของชีวิตแตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมคือการให้คุณค่าความเชื่อและการปฏิบัติในชีวิตประจาวันของกลุ่มชนเรียนรู้สืบต่อกันเกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มเป็นลักษณะเฉพาะ
พยาบาลเป็นวิชาชีพที่ให้บริการสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในแปดวิชาการบริการที่ประชาชนอาเซียนเร่งรังรวมตัวกัน เพื่อคุณภาพ และ เป็นหนึ่งในสากล
ความเข้าใจด้านสังคมวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มต่างๆ เป็นเครื่องมือในการบริการสุขภาพ และการบริการพยาบาล
พยาบาลจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการสื่อสารกับผู้มาใช้บริการข้ามชาติ เพื่อประเมินภาวะสุขภาพ วินิจฉันการพยาบาล วางแผนในการซ่วยเหลือดูแล ฟื้นฟูสภาพ และเสริมสร้างสุขภาพ
ช่วยบำบัดสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม Transcultural Nursing
วิเคราะห์พฤติกรรมการดูและการให้บริการ
การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแล
เน้นการให้คุณค่าและปฏิบัติ
มีความไวในการรับรู้และการให้การพยาบาลที่เหมาะสม
ความสำคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
การยอมรับการนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีของมนุษย์ความเชื่อ วิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และ สิทธิมนุษยชนเพิ่มมาก เนื่องจากการประกาสิทธิของผู้ป่วย
การรณรงค์เกี่ยวกับ เพศสภาวะ แล ะการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายหยิง มีการเคลื่อนไหว เพื่อเรียกร้อง ความเท่าเทียมในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น ทำให้ต้องปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการสุขภาพเพื่อให้เหมาะสมกับเพศสภาวะ
การเคลื่อนย้ายของประชากร ย้ายถิ่นฐาน ต้องเร่ง จัดระบบให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
การใช้เทคโนดลยีที่ทันสมัย เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
การเปลี่ยนแปลงความคิดในการดูแล จากการใช้ชุมชนเป็นฐาน เพิ่มมิติ สังคมวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น สถานบริการของรัฐได้เร่งพัฒนาสถานบริการ 3 บริหาร ให้เข้่ากับความเชื่อทางด้าน ศาสนา วัฒนธรรม และ ประเพณีของคนในพื้นที่
3.4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
•การดูแลทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายแตกต่างกันจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง*จะพิจารณาถึงวิถีชีวิตความเชื่อความเข้าใจภาษาตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของผู้ป่วยครอบครัวและชุมชนร่วมด้วย
•ความหลากหลายทางวัฒนธรรมท าให้พยาบาลต้องมีความไวทางวัฒนธรรม*ต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลายฝึกฝนตนเองให้ไวต่อความต่างของภาษาวิถีความคิดความเชื่อที่เกิดจากความต่างทางวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีความเข้าใจความแตกต่าง และเลือกกิจกรรมการพยาบาลที่สอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของผู้ป่วยจะทาให้ได้รับความร่วมมือมากขึ้
องค์กรต้องมีความไวทางวัฒนธรรม* โดยเฉพาะองค์กรที่มีผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น โรงพยาบาลในจังหวัดสมุทรสาครที่มีแรงงานต่างชาติพักอาศัยเป็นจานวนมาก
คุณลักษณะ12 ประการ ของพยาบาลที่จะดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้ดี
1.มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุกวัฒนธรรม
2.มีความเข้าใจตื่นตัวใฝ่รู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อเชื้อชาติเพศและพฤติกรรมต่างๆของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม 3.มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม 4.มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกตค้นหา ค่านิยมความเชื่อวิถีการดาเนินชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยซึ่งสะท้อนแนวคิดด้านวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตรเข้าใจในวัฒนธรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติวัฒนธรรม
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติวัฒนธรรม
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้8. สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสมและสอดคล้องตามวัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติศาสนาและวัฒนธรรม โดยค านึงกฎระเบียบ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
สามารถรักษาความลับของข้อมูลความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
3.6 ความเป็นสากลของการดูแลทางวัฒนธรรม
•Cultural diversity ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•Cultural universality ความเป็นสากลทางวัฒนธรรม
•ความเหมือนกัน กับ ลักษณะเด่นเฉพาะ ของ ความหมาย แบบแผนค่านิยมวิถีชีวิตหรือสัญลักษณ์ของการดูแล ในหลายๆวัฒนธรรมที่สะท้อนการช่วยเหลือสนับสนุนอานวยความสะดวกหรือท าให้มีความสามารถในการช่วยเหลือประชาชน
•เน้นการดูแลมนุษย์และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรมถ้ามีความรู้ความสามารถในการดูแลข้ามวัฒนธรรมจะทาให้ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเป็นองค์รวม สอดคล้องกับความต้องการตามเชื้อชาติวัฒนธรรมของผู้ป่วย
3.5 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
•พฤติกรรม
•วิธีคิด
•ความเชื่อ
•เศรษฐฐานะ
•ภาษา
✨💕📦💤🏥นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378 💕✨🌈🧸💤