Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังและการสอบสวนทางวิทยาการระบาดโรคหลอดเลือดหัวใจ - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังและการสอบสวนทางวิทยาการระบาดโรคหลอดเลือดหัวใจ
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความหมายของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
กระบวนการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public health surveillance)
การจัดเก็บ การวิเคราะห์และการแปลผลข้อมูลทางสาธารณสุขที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้ที่มีอยู่ออกไป
วัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง
ให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ของปัญหาสุขภาพหรือปัญหาสาธารณสุข
ช่วยติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค มีประโยชน์ในการช่วยพยากรณ์รูปแบบการเกิดโรคในอนาคต
ทราบถึงรูปแบบการเกิดโรคในกลุ่มประชากร
ช่วยให้สามารถคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อไปการระบุโรคใหม่ โรคอุบัติซ้า
ทราบถึงสภาวะหรือลักษณะการเกิดโรคภัยต่างๆที่กระจายอยู่ในชุมชน
เฝ้าระวังพฤติกรรมทำให้ทราบถึงลักษณะของประชากรที่สัมพันธ์กับโรค
ช่วยในการตรวจจับการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยหรือสถานการณ์ที่ผิดปกติไป
ช่วยในการตรวจจับการเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้ป่วยหรือสถานการณ์ที่ผิดปกติไป
นำข้อมูลจากการเฝ้าระวังไปใช้ประกอบในการวางแผนการดำเนินงาน
นำข้อมูลจากการเฝ้าระวังนำไปสู่การประเมินผลมาตรการในการควบคุมป้องกันโรค
ทำให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเข้าใจและอธิบายถึงสภาวะสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบได้
การเฝ้าระวังโรค (Disease surveillance)
การเฝ้าสังเกตอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการกระจายและแนวโน้มของอุบัติการณ์ของโรคโดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบการวิเคราะห์ข้อมูลและการประเมินรายงานการป่วยและการตาย
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)
การติดตามสังเกตและพิจารณาอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
รูปแบบและองค์ประกอบของการการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
1การเฝ้าระวังเชิงรุก (activesurveillance)
การเข้าไปค้นหาและติดตามผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ เฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น หรือเป็นการค้นหารประชากรที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
2)การเฝ้าระวังเชิงรับ (passive surveillance)
เมื่อพบผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ จะทำาการบันทึกตามบัตรรายงานแล้วรวบรวมส่งหน่วยงานที่รับผิดชอบ
4)การเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (syndromic surveillance)
การเฝ้าระวังในผู้ที่มีความเสี่ยง เช่นผู็ที่สูบบุหรี่ ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีประวัติพันธุกรรมเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
3 การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มหรือการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่(sentinel surveillance)
การเลือกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ แล้วนำผลที่ได้ไปใช้เป็นมาตรการ
5)การเฝ้าระวังเหตุการณ์ (event-based surveillance)
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ เป็นการจัดระบบและรวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการสาธารณสุข เช่น ความเชื่อในการปฎิบัติตัวแบบผิดๆในผู็ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
องค์ประกอบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
2)นิยามของสิ่งที่ทำการเฝ้าระวัง
นิยามของโรคหลอดเลือดหัวใจ คือ จากการเกาะของคราบไขมัน (Plaque) ภายในผนังหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นการสะสมของคอเลสเตอรอลและสารต่าง ๆ ภายในหลอดเลือด ส่งผลให้หลอดเลือดตีบและอุดตันจนปิดกั้นการไหลเวียนของกระแสเลือด ผู้ป่วยจึงมีอาการเจ็บหน้าอก หายใจติดขัด หรือรุนแรงถึงขั้นหัวใจวาย หากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้
3)ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง
1)ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชากร
ใช้ประชากรที่เป็นตัวอย่างหรือเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเสี่ยง
4)วงจรของการเฝ้าระวัง
5)การรักษาความลับ
สร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจของผู้ถูกเฝ้าระวังโดยทั่วไปในการรักษาความลับคือการไม่น าข้อมูลส่วนตัวของผู้ถูกเฝ้าระวังไปเผยแพร่
กระบวนการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
2)การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
การนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ความถี่ของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ เปรียบเทียบระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับการเกิดโรค หรือเปรียบเทียบการเกิดโรคระหว่าง อดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
3)การแปลผลข้อมูล (Interpretation)
การแปลผลข้อมูลควรแปลผลให้เข้าใจง่าย นำไปใช้ได้ มีการระบุสภาพปัจจุบันที่พบความเปลี่ยนแปลง การระบาด กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง และระบุความน่าเชื่อถือของข้อมูล มีการระบุปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
1)การจัดเก็บข้อมูล (Data collection and consolidation)
การจัดเก็บข้อมูล ของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
4)การเผยแพร่ข้อมูล หรือการให้ข้อมูลย้อนกลับและการสื่อสารผลการเฝ้าระวัง (Feedback and dissemination)
ระบบการดำเนินการเฝ้าระวัง
2)ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(surveillance and rapid response team : SRRT)
3)การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial or hospital associated infectionsurveillance)
1)ข่ายงานเฝ้าระวังของประเทศไทย
องค์ประกอบการเฝ้าระวังใน5 กลุ่มโรค 5 มิติ
องค์ประกอบการเฝ้าระวังใน5 กลุ่มโรค 5 มิติ
หลักการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ5 มิติ
1)ปัจจัยต้นเหตุหรือปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Determinant)
การเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุ
การเพิ่มและหรือการขยายตัวของผลิตภัณฑ์อุปโภค บริโภค ตลอดจนเทคโนโลยี
การเข้าไม่ถึงสถานบริการของประชากรกลุ่มเสี่ยง
การดำเนินงานด้านสุขภาพเพื่อการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ
2)พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยง (Behavioral risk)
เฝ้าระวังเกี่ยวกับความชุกของการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ และการบริโภคอาหารเกินค่ามาตรฐานต่อวัน โดยเฉพาะอาหารหวาน มันและเค็ม
เฝ้าระวังความชุกของภาวะน้ าหนักเกิน ภาวะอ้วน ระดับไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูงกว่าปกติ (Prehypertension) และระดับน้ าตาลสูงกว่าปกติ (Prediabetes)
ดูจากพฤติกรรมการใส่ใจตนเองของประชาชน
3)การป่วย/การตาย ( Morbidity/ Mortality) หรือผลลัพธ์ทางสุขภาพ(Health outcome)
การเฝ้าระวังการป่วยและภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดหัวใจ
การเฝ้าระวังอัตราการตายก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคหลอดเลือดและหัวใจ
4)เหตุการณ์ผิดปกติ (Abnormal event and outbreak)
การเพิ่มขึ้นของการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อรายโรค
การระบาดของผลิตภัณฑ์ต่างๆที่อาจเป็นความเสี่ยงของการเกิดโรค
เหตุการณ์ในความสนใจของสื่อหรือสาธารณชนที่อาจเกี่ยวข้อง
ภาวะที่มีเหตุฉุกเฉินทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5)การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program response)
การมีส่วนร่วมในนโยบาย การควบคุมการสูบบุหรี่การดื่มสุรา ส่งเสริมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อรักษาสุขภาพ ลดการเกอดโรคหลอดเลือดหัวใจ
การพัฒนาระบบการจัดการสุขภาพในทุกระดับ ให้คลอบคลุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรวมถึงโรคหลอดเลือดหัวใจ
การพัฒนาคุณภาพการรักษาโรคไม่ติดต่อตามเกณฑ์มาตรฐาน การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
กระบวนการที่พยาบาลควรดำเนินการ
การประเมินปัจจัยก่อโรค (Determinant assessment)
การประเมินวิถีชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ ประวัติครอบครัว สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ที่อาจทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
ดำเนินการลดสาเหตุการเกิดโรคอย่างเป็นระบบ(Source reduction) มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการที่จะลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
พิจารณาผลกระทบของสุขภาพที่เกิดขึ้น (Health outcomes) ประเมินอัตราการป่วย อัตราการพิการ และเสียชีวิตที่เกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
การจัดการปัจจัยเสี่ยง การบำบัดปัจจัยเสี่ยง(Risk management) สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อจะช่วยลดโรคหัวใจและหลอดเลือด
การป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวทางเฝ้าระวัง 5มิติ
1)กลุ่มปัจจัยเสี่ยง (Risk)
เฝ้าระวังพฤติกรรมต่างๆที่สามารถทำให้กิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้
2)กลุ่มการป้องกัน (Prevention)
การเฝ้าระวังการตอบสนองของแผนการควบคุมโรค
3)กลุ่มผลลัพธ์ด้านสุขภาพ (Health outcomes)
2)องค์ประกอบการเฝ้าระวังแต่ละกลุ่มโรคใน 5 มิติ
พฤติกรรมเสี่ยง(Behavioral risk)
ขับรถ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้
การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค
กำหนดกลุ่มมาตรการสำคัญที่จะแก้ไขปัญหาของโรคนั้น รวมถึงมีการเฝ้าติดตามความครอบคลุมของแผนการดำเนินงาน จะทำให้ทราบโอกาสของการดำเนินการว่าจะประสบความสำเร็จหรือไม่
ปัจจัยต้นเหตุ(Determinant)
ปัจจัยทางสังคมเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม
การติดเชื้อ/การป่วย/การตาย/ความพิการ
ต้องเฝ้าระวังการเกิดโรค หัวใจและหลอดเลือดเพื่อลด การป่วยการตายและความพิการ
เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด
ควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือดไม่ให้เกิดความรุนแรง
1)ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่ม
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ
โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ระบบการเฝ้าระวังโรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์และวัณโรค
ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป
การสอบสวนทางวิทยาการระบาด
ความสำคัญ/ประโยชน์ของการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
3)ได้รับความรู้ที่ไม่เคยรู้มาก่อน(Gaining unknown knowledge)
อาจมีการนำวิจัยมาใช้หรือมีการศึกษา โรคหลอดเลือดหัวใจทำให้บุคลากรทางการแพทย์มีความรู้มากขึ้นในบางเรื่อง
4)ช่วยพัฒนาบุคลากร(Human capacity building)
การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดและหัวใจ จะทำให้บุคลากรทางการแพทย์มีความสามารถในการปฏิบัติงานมากขึ้น
2)ป้องกันการเกิดโรคในอนาคต(Disease prevention)
การหาแนวทางป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในแต่ละระยะ
5)ประเมินมาตรการการป้องกันและควบคุมโรคที่ดำเนินไปแล้ว (Evaluation of prevention system)
ต้องมีการติดตามผลหลังจากที่ดำเนินการไปแล้วดูว่าโรคหลอดเลือดหัวใจนั้น น้อยลงหรือไม่ และมีผลกระทบมากน้อยเพียงใดต่อคนในชุมชน
1)ป้องกันการเกิดโรคในขณะนั้นไม่ให้ลุกลามหรือขยายขอบเขตออกไป(Disease control)
การเข้าไปหาผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ แล้วหาข้อมูลเพื่อที่จะสร้างแนวทางป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
ชนิดการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
ชนิด
1)การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (Individual case investigation)
เจาะลึกลงไปที่ผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจในแต่ละราย สอบสวนทำให้ทราบถึงลักษณะของผู้ป่วยแต่ละราย แล้วข้อมูลที่ได้จะสามารถนำไปสู่การป้องกันและควบคุมโรคหลอดเลือดหัวใจได้
2)การสอบสวนการระบาด (Outbreak investigation)
วิธีนี้จะสามารถป้องกันเพื่อลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้
รูปแบบการระบาด
2)การระบาดแบบแหล่งโรคแพร่ขยาย (Propagated source)
1)การระบาดแบบแหล่งโรคร่วม (Common source outbreak)
ความหมายการสอบสวนทางวิทยาการระบาด(Epidemiologyinvestigation)ความหมายการระบาดของโรค(Outbreak/ Epidemic )
1)เหตุการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
2)เหตุการณ์ที่มีผู้ป่วยจำนวนมากผิดปกติในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน
ขั้นตอน/กระบวนการการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
6)การตั้งสมมุติฐานของการระบาด (generating hypothesis)
นำข้อมูลที่ได้จากการสอบสวนมาดูว่าปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจคืออะไร
1 การเตรียมการก่อนการสอบสวน(preparation prior to investigation)
ต้องเตรียมความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดหัวใจ วิธีการสอบสวน
5)รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology)
7)ทำการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน (testing the hypothesis)
4)การกำหนดนิยามและค้นหาผู้ป่วย(establish case definition)
8)ศึกษาสภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(environmental investigation)
ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น เพศ อายุ พฤติกรรมเสี่ยง
3)ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (establish the existence of an outbreak)
ต้องมั่นใจว่ามีการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจริง
9)ดำเนินการควบคุมและป้องกัน (implement control and prevention measure)
การควบคุมโรคหลอดเลือดหัวใจและป้องการให้เกิดน้อยที่สุด
2)ยืนยันการวินิจฉัยโรค (case confirmation/ verifying diagnosis)
ผู้ที่สอบสวนต้องทำกรวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ ดูจากอาการ อาการแสดง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
10)สรุปสาเหตุและเขียนรายงาน (causal associationand report of epidemic investigation)