Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human immunodeficiency virus (HIV)ติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ต้องขัง -…
Human immunodeficiency virus (HIV)ติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ต้องขัง
กระบวนการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การจัดเก็บข้อมูล (Data collection and consolidation)
การรายงานตามความสมัครใจ (voluntary notification)
พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการรับเชื้อตั้งแต่ก่อนต้องขัง
การใช้ยาเสพติดชนิดฉีด
การใช้หรือขายบริการทางเพศ
พฤติกรรมที่เสี่ยงระหว่างต้องขัง
การใช้อุปกรณ์ฉีดยา/เข็มสัก ร่วมกัน
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
การสอบสวนโรค
ผู้ต้องขังเหล่านี้ไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองเชื้อเอชไอวี
แต่จะทราบว่าตนเองติดเชื้อเมื่อมีอาการของโรคเอดส์แล้ว
หรือโรคติดเชื้อฉวยโอกาสหรือตามแพทย์วินิจฉัยเท่านั้น
เจ้าหน้าที่พยาบาลในเรือนจาก็มักจะไม่ได้รับการฝึกทักษะ
เกี่ยวกับการติดเชื้อ เอชไอวี โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การสำรวจโรค
ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน สร้างขึ้นด้วยนักวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคล
เจตคติต่อการคัดกรอง
การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง
ความตั้งใจตรวจคัดกรอง
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย (descriptive statistic)
ความถี่ ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สถิติถดถอย พหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression)
การรายงานโรคตามกฎหมาย(mandatory notification)
ร่างกายมีอาการอ่อนเพลียเจ็บป่วยเรื้อรัง
มีผื่นแดงตามร่างกาย
มีไข้เหงื่อออกตอนกลางคืน
มีเชื้อราในช่องปากและหลอดอาหารเ
เป็นงูสวัด
ปอดอักเสบและวัณโรคปอด
เกิดเชื้อราที่สมองและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ถูกสังคมรังเกียจและตีตรา
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
descriptive study
พรรณนาปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
ใช้สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistic)
ความถี่
ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
พรรณนาเจตคติต่อการตรวจคัดกรองเชื้อ
เอชไอวี
การรับรู้ความสามารถในการควบคุมปัจจัยใน
การตรวจคัดกรองเชื้อเอชไอวี
ความตั้งใจในการตรวจคัดกรองเชื้อเอชไอวี
ใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน
analytic study
เคยมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่เคยตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีมาก่อน
ระดับการศึกษา
พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการรับเชื้อตั้งแต่ก่อนต้องขัง
การใช้ยาเสพติดชนิดฉีด
การใช้หรือขายบริการทางเพศ
พฤติกรรมที่เสี่ยงระหว่างต้องขัง
การใช้อุปกรณ์ฉีดยา/เข็มสัก ร่วมกัน
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยหนุ่ม
การแปลผลข้อมูล (Interpretation)
ผู้ป่วยเอดส์ประเทศไทยจําแนกตามปัจจัยเสี่ยง
มากกว่าร้อยละ 95 ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในกลุ่มผู้ใหญ่ได้รับและถ่ายทอดเชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ประมาณ 26,487 คน เป็นกลุ่มMSM ร้อยละ 53.6
กลุ่มคู่ผลเลือดต่าง
คู่อยู่กิน
คู่ประจํา
คู่นอนชั่วคราว
ร้อยละ 33.5 กลุ่มSW และลูกค้าร้อยละ 7.7 และกลุ่มPWID ร้อยละ 5.3
เคยมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
ระดับการศึกษา
กลุ่มผู้ใช้ยาด้วยการฉีดหรือผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีด
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่เคยตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีมาก่อน
มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยทั้งก่อนเข้าเรือนจำและขณะอยู่ในเรือนจำ
มีการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยน้อยกว่า ร้อยละ 40
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่เคยตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีมาก่อน
การเผยแพร่ข้อมูล หรือการให้ข้อมูลย้อนกลับและการสื่อสารผลการเฝ้าระวัง (Feedback and dissemination)
ประกอบด้วย 5 บริการหลัก
1) การเข้าถึง(Reach)
การให้ความรู้เรื่องเอชไอวี
ข้อมูลการเข้าถึงชุดบริการ
การลงทะเบียนเพื่อรับบริการ
การได้รับอุปกรณ์ป้องกันด้วย
ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น
2) การเข้าสู่บริการ (Recruit)
ให้บริการให้ค าปรึกษาก่อนการเจาะเลือดตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี (Pre-test Counseling)
การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3)การตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี(Test)
ได้รับการเจาะเลือดตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี
การทราบสถานะผลเลือด
การได้รับบริการให้ค าปรึกษาหลังการเจาะเลือด(Post-test counseling)
4)การรักษา (Treat)
มีระบบการส่งต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าสู่บริการรักษาในโรงพยาบาล
มีการติดตามผลการรักษา
5)การคงอยู่ในระบบ (Retain)
การดูแลให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่อง
มีการส่งเสริมให้ผู้มีผลเลือดเป็นลบมีการเจาะเลือดซ้ า ทุก 6 เดือน
ขั้นตอน/กระบวนการการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
การเตรียมการก่อนการสอบสวน(preparation prior to investigation)
ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื่องโรคเอชไอวี เลนโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์
ส่งเสริมการเข้าถึงอุปกรณ์การป้องกันเอดส์
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการสอบสวน
พัฒนาคลินิกของเรือนจาให้สามารถรองรับบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การคัดกรองโรคติดต่อและไม่ติดต่อในผู้ต้องขังแรกรับ
พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
พยาบาลที่ดูแลผู้ต้องขังประจำทัณฑสถาน
อาจารย์พยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย โ
ยืนยันการวินิจฉัยโรค (case confirmation / verifying diagnosis)
พบผู้ต้องขังในเรือนจำแห่งหนึ่งติดเชื้อเอชไอวีถึงร้อยละ 25 ของผู้ต้องขังทั้งหมด
ผู้ติดเชื้อรายใหม่ร้อยละ 4.22จากการสุ่มสำรวจเรือนจำ 3 แห่งในจังหวัดปทุมธานี
เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากผู้ต้องขัง 1,538 คน สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่อีก 60 คน
และเปรียบเทียบข้อมูลกับการให้บริการระยะยาวของโครงการ
เปรียบเทียบกับอัตราการติดเชื้อในกลุ่มประชากรไทยทั่วไปที่ร้อยละ 1.2 และกลุ่มชายลูกค้าของพนักงานบริการที่ร้อยละ 4 – 8 อัตราการติดเชื้อในกลุ่มผู้ต้องขังถือว่าสูง
พบอัตราการติดเชื้อเอชไอวีที่ร้อยละ 25
ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (establish the existence of an outbreak)
ผู้ป่วยเอดส์ประเทศไทยจําแนกตามปัจจัยเสี่ยง
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ประมาณ 26,487 คน เป็นกลุ่มMSM ร้อยละ 53.6
กลุ่มคู่ผลเลือดต่าง
คู่นอนประจำ
คู่นอนชั่วคราว
คู่อยู่กิน
ระดับการศึกษา
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่เคยตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีมาก่อน
ร้อยละ 33.5 กลุ่มSW และลูกค้าร้อยละ 7.7 และกลุ่มPWID ร้อยละ 5.3
เคยมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่เคยตรวจคัดกรองหาเชื้อเอชไอวีมาก่อน
รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology)
การรับรู้ความสามารถ ในการควบคุมปัจจัยในการตรวจคัดกรองเชื้อเอชไอวี และปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
ระดับการศึกษา
สถานภาพสมรส
ประสบการณ์เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
ประสบการณ์การตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี
รวบรวบข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
กลุ่มของผู้ต้องขัง
มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ต้องขังจำนวน 3,668 รายโดยพบผู้ต้องขังในเรือนจำแห่งหนึ่งติดเชื้อเอชไอวีถึงร้อยละ25 ของผู้ต้องขังทั้งหมด
การมีเพศสัมพันธ์กันเองระหว่างผู้ต้องขังโดยไม่มีการป้องกัน
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากการขาดความรู้ มีทัศนคติ
ความเชื่อต่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่ไม่ถูกต้องส่งผลให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
ชื่อว่าคู่นอนของตนที่อยู่ในเรือนจำมีเพศสัมพันธ์กับตนเพียงคนเดียวจึ
การใช้ถุงยางอนามัยทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศลดลง
ทำให้คู่นอนรู้สึกไม่มีความไว้ใจกัน
ประเทศไทยพบว่ามีผู้ติดเชื้อเอชไอวีในปีพ.ศ. 2555 มากกว่า 1.2 ล้านคน
ยอดผู้ป่วยสะสมทั้งสิ้น 276,947 ราย
มีร้อยละ 65 อยู่ในกลุ่มอายุระหว่าง 30-44 ปี
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปร้อยละ 45.6
ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีจากเพศสัมพันธ์ร้อยละ 85
ผู้ต้องขังที่เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในเรือนจำและทัณฑสถานทั่วประเทศประมาณ 1,712 คน
ผู้ต้องขังชาย 1,271
คนผู้ต้องขังหญิง 441 คน
เสียชีวิตในเรือนจาจานวน 93 คน
การติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ต้องขังมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
สาเหตุของการติดเชื้อเอชไอวีของผู้ต้องขัง
การติดเชื้อเอชไอวีก่อนเข้าเรือนจา
อีกบางส่วนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีภายในเรือนจา
การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันถึงร้อยละ 90
ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ต้องคดีเกี่ยวกับยาเสพติด
ศึกษาสภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(environmental investigation)
การใช้ชีวิตอยู่ในทัณฑสถานภายใต้กฎระเบียบต่างๆ
การถูกจำกัดอิสรเสรีภาพ
สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่ไม่เอื้ออำนวยและเป็นอุปสรรคที่ยากต่อการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันโรค
ผู้ต้องขังเยาวชนชายที่อยู่ในทัณฑสถานยังเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง
ผู้ต้องขังที่อยู่ในทัณฑสถานส่วนใหญ่เป็นเยาวชนที่อยู่ในช่วงอายุวัยหนุ่ม
ทำให้เยาวชนกลุ่มนี้เกิดความอยากรู้อยากลองและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
กลุ่มเยาวชนที่นิยมการสัก การเจาะส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การใช้สารเสพติดชนิดฉีดร่วมด้วย
ระยะเวลาในการต้องโทษที่ยาวนานของผู้ต้องขัง
ทำให้ผู้ต้องขังมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ลดลง
ดำเนินการควบคุมและป้องกัน (implement control and prevention measure)
กิจกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีอย่างครบวงจรในเรือนจำ
กิจกรรมโดยทั่วไปมักเป็นการสอนความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีแก่ผู้ต้องขังในเรือนจำ
เจ้าหน้าพยาบาลเพื่อดูแลผู้ต้องขัง และจะมีเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลที่เป็นแม่ข่ายในระบบประกันสุขภาพ
แห่งชาติเข้ามาดูแลผู้ต้องขังบางรายบ้าง
ระบบการส่งต่อผู้ต้องขังไปยัง
โรงพยาบาลภายนอกจะเกิดขึ้นในกรณีที่รุนแรงเท่านั้น
โครงการนาร่องเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในเรือนจา 3 แห่งในประเทศไทย
การอบรมแกนนาผู้ต้องขังเป็นอาสาสมัครต้านเอดส์
อบรมเจ้าหน้าที่เรือนจำเพื่อการจัดกิจกรรมลดความเสี่ยง
การแจกถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น
การจัดบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวี ด้วยความสมัครใจในเรือนจำ
การส่งต่อไปรับบริการดูแลรักษาในโรงพยาบาลแม่ข่ายของเรือนจานั้นๆ
องค์ประกอบการเฝ้าระวังใน5 กลุ่มโรค 5 มิติ
1)ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 กลุ่ม
ระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์และวัณโรค
โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2)องค์ประกอบการเฝ้าระวังแต่ละกลุ่มโรคใน 5 มิติ
ปัจจัยต้นเหตุ(Determinant)
โรคติด่อทางเพศสัมพันธ์
การได้รับเชื่อ เอชไอวี
พฤติกรรมเสี่ยง(Behavioral risk)
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
การใช้อุปกรณ์ฉีดยา/เข็มสัก ร่วมกัน
การใช้หรือขายบริการทางเพศ
การใช้ยาเสพติดชนิดฉีด
การติดเชื้อ/การป่วย/การตาย/ความพิการ(Infection/ Morbidity/ Mortality/ Disability)
การเฝ้าระวังผลลัพธ์ที่เกิดจากปัญหาสุขภาพ
ปัจจัยเสี่ยง
พฤติกรรมเสี่ยง
เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด(Abnormal event and outbreak)
การควบคุมโรค
การควบคุมให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาหรือผลกระทบรุนแรง
การป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวทางเฝ้าระวัง 5มิติ
1)กลุ่มปัจจัยเสี่ยง (Risk)
การเฝ้าระวังปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค (Determinant)
การมีเพศสัมพันธ์กันเองระหว่างผู้ต้องขังโดยไม่มีการป้องกัน
การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากการขาดความรู้ มีทัศนคติ
ความเชื่อต่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่ไม่ถูกต้อง
การเฝ้าระวังพฤติกรรมของมนุษย์ (Behavior)
การสัก การเจาะตามร่างกาย
การตกแต่งอวัยวะเพศ
การใช้เข็มฉีดยาหรือของมีคมอื่นๆ ร่วมกัน
มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อยมากขึ้นและส่วนใหญ่ไม่มีการป้องกัน
2)กลุ่มการป้องกัน (Prevention)
การเฝ้าระวังการตอบสนองของแผนการควบคุมโรค (Program response)
การให้บริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีในเรือนจา
แกนนาอาสาสมัครมีผลต่อการเพิ่มอัตราการตรวจหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรหลัก
พัฒนาคลินิกของเรือนจาให้สามารถรองรับบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3)กลุ่มผลลัพธ์ด้านสุขภาพ (Health outcomes)
การเฝ้าระวังการป่วย/การตาย/ความพิการ (Morbidity/ mortality/ disability)
การคัดกรองโรคติดต่อและไม่ติดต่อในผู้ต้องขังแรกรับ
สาหรับผู้ต้องขังเก่าที่อยู่ในเรือนจาควรจัดบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจ
ใช้วิธีการตรวจเลือดแบบทราบผลภายในวันเดียว
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event-based)
ขับเคลื่อนให้มีการนาแนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจา