Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 - Coggle Diagram
บทที่5
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
คณะกรรมการยา
มาตรา ๙ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี
กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้
มาตรา ๘ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อตาย ลาออก ไล่ออก ล้มละลาย ไร้ความสามารถ ติดคุก หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๑๐ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คำแนะนำหรือความเห็นเรื่องยา
มาตรา ๑๑ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการ
ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
มาตรา ๗๒ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร คือ ยาปลอม ผิดมาตรฐาน เสื่อมคุณภาพ ไม่ได้ขึ้นทะเบียนหรือยกเลิกแล้ว
มาตรา ๗๕ ยาหมดอายุ เสื่อมคุณภาพ
มาตรา ๗๓ ยาหรือวัตถุเป็นยาปลอม
มาตรา ๗๔ ยาผิดมาตรฐาน
การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๙๖ เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่าผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติตาม
มาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๔๘ ผู้อนุญาตโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้
มาตรา ๑๐๐ ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตอื่น หรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควรได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๙๙ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
มาตรา ๙๗ คำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ทำเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับอนุญาตทราบ
มาตรา ๙๘ ผู้อนุญาตโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งถอนคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนดเวลาได้
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๕๓ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตผลิตหรือขายยาแผนโบราณนอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต เว้นแต่เป็นการขายส่ง
มาตรา ๕๔ ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๘ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๕๕ ผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๖๙ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
มาตรา ๗๑ ห้ามมิให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติหน้าที่ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยตนมิได้มีชื่อเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติการในสถานที่นั้น
มาตรา ๖๘ ให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณตามมาตรา ๕๔ ประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปิดทำการ
การประกาศเกี่ยวกับยา
มาตรา ๗๗ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจำนุเบกษาระบุโรคหรืออาการของโรคที่ห้ามโฆษณายาว่าสามารถใช้บำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคหรืออาการของโรคนั้นได้
มาตรา ๗๖ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๔ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำ หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันได้
มาตรา ๑๖ ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา ๑๕ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญาตด้วย
มาตรา ๑๕ ประเภทของใบอนุญาตสำหรับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๒ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๕๒ ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน
มาตรา ๔๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งยาแผนโบราณ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๕๐ ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา ๔๙ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญาตด้วย
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๒๐ ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งอย่างน้อยสองคนเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๓๘ และต้องจัดให้มีเภสัชกรอย่างน้อยหนึ่งคนประจำอยู่
มาตรา ๒๘ ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย
มาตรา ๒๒ ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยา
อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง เภสัชกรชั้นสอง
มาตรา ๑๙ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๑ รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งหรือเภสัชกรชั้นสอง เป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ
มาตรา ๔๔ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา ๒๔ ประจำอยู่ ณ สถานที่นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรหรือสถานที่เก็บยาตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๔๐ ให้เภสัชกรชั้นสองตามมาตรา ๒๑ ปฏิบัติตามมาตรา ๓๙ เช่นเดียวกับเภสัชกรชั้นหนึ่ง เว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับการปรุง การขายและการส่งมอบยาควบคุมพิเศษจะกระทำมิได้
มาตรา ๓๘ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งตามมาตรา ๒๐ ประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปิดทำการ
การโฆษณา
มาตรา ๘๙ ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยไม่สุภาพ หรือโดยการร้องรำทำเพลง หรือแสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
มาตรา ๘๘ การโฆษณาขายยาจะต้องไม่โอ้อวดสรรพคุณของยาเกินจริง
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558
ทั่วไป
มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรค หรือการแจ้งหรือรายงานตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งมีการพาดพิงถึงตัวบุคคลทั้งที่ระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได้ จะต้องเก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผยชื่อ
มาตรา ๖ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา ๙ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด ให้อธิบดีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศชื่อ อาการสําคัญ และสถานที่ที่มีโรคระบาด
มาตรา ๘ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรค
มาตรา ๗ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา ๑๕ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๙ ให้กรมควบคุมโรคเป็นสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการคณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ
มาตรา ๑๔ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่กำหนด พิจารณา เสนอความคิดเห็น ให้คำปรึกษา พิจารณาแต่งตั้งกรรมการ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๑๗ ให้นําความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อ
แห่งชาติ”
มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ และให้มีกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านโรคติดต่อ อีกจํานวนไม่เกินเจ็ดคน
มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ไล่ออก ล้มละลาย ไร้ความสามารถ และจำคุก
มาตรา ๑๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะกรรมการ
คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลใด ๆ มาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูล หรือเอกสารใด ๆ ที่จําเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาได้
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๔ ให้คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกมีอํานาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา ๒๕ ให้นําความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๐ และกรรมการตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา ๒๓ คณะทำงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการ
มาตรา ๒๐ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอํานาจหน้าที่
คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๒๘ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครมีอํานาจหน้าที
มาตรา ๒๙ ให้นําความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
มาตรา ๒๗ การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๖ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่๕ระกรรมการกำหนด
มาตรา ๒๖ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๓๐ ให้นําความในมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ มาใช้บังคับแก่องค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแต่งตั้งโดยอนุโลม
การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา ๓๑ ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดเกิดขึ้นให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๓๒ เมื่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้งตามมาตรา ๓๑ ว่ามีเหตุสงสัย มีข้อมูลหรือหลักฐานว่ามีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ให้รายงานโดยเร็ว
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในต่างประเทศ ให้กรมควบคุมโรคประสานงานไปยัง WHO
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๓๗ ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ในบริเวณช่องทางเข้าออก
มาตรา ๓๕ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วนเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดรายงาน
มาตรา ๓๖ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี
มาตรา ๓๔ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เมื่อเกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายให้กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการดำเนินการ
เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๔๖ ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจําตัวสําหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดงตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๔๕ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอํานาจ
มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
ค่าทดแทน
มาตรา ๔๘ ในการดําเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตาม
พระราชบัญญัตินี้หากเกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลให้ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ผู้นั้นตามความจําเป็น
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา ๓๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๔๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการหรือคณะอนุกรรมการ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๑ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง
พ.ศ 2558
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๖๘ ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย หรือผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางซึ่งใช้ฉลากที่ไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๒) หรือ (๓) ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามเดือน
มาตรา ๖๐ ผู้ใดผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศที่รัฐมนตรีออกตามมาตรา ๖ (๑) ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี
มาตรา ๖๒ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๙ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ค้น บันทึกรายละเอียดแห่งการค้นและบัญชีรายละเอียดสิ่งของที่ค้น ยึด หรืออายัด
มาตรา ๔๘ ในกรณีที่ปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่ามีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๓๒
มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา ๔๐ การแจ้งคําสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอางโดยวิธีส่งทางไปรษณีย์
มาตรา ๓๗ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค
มาตรา ๓๘ คําสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง ให้ทําเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้จดแจ้งทราบ
มาตรา ๓๖ ผู้รับจดแจ้งมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา ๓๙ การแจ้งคําสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอางโดยวิธีให้บุคคลนําไปส่ง
การควบคุมเครื่องสำอาง
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย รับจ้างผลิตหรือขายเครื่องสำอาง
มาตรา ๒๕ นำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอาง ต้องผ่านการตรวจสอบ
มาตรา ๒๖ ผู้จดแจ้งต้องผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
มาตรา ๓๓ ในกรณีมีความจําเป็นเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยและอนามัยของบุคคล
คณะกรรมการเครื่องสำอาง
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีภาวะการดำรงตำแหน่งคราวละสองปี
มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๑๐ มีอำนาจหน้าที่ ได้แก่ ให้คำแนะนำต่างๆ
การโฆษณา
มาตรา ๔๑ การโฆษณาเครื่องสําอางต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา ๔๒ การโฆษณาจะต้องไม่กระทําด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ
ฉลากเครื่องสำอาง
มาตรา ๒๔ ผู้จดแจ้งผู้ใดสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตาม
มาตรา ๒๒ ผู้จัดแจ้งผู้นั้นอาจขอให้คณะกรรมการให้ความเห็น
มาตรา ๒๒ ต้องชัดให้มีฉลาก
การจดแจ้งและการับจดแจ้งเครื่องสำอาง
มาตรา ๑๕ ใบรับจดแจ้งให้มีอายุสามปีนับแต่วันที่ออกใบรับจดแจ้ง
มาตรา ๑๔ ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอาง ต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสำอาจต่อผู้รับจดแจ้ง
มาตรา ๑๖ ผู้ซึ่งผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อจัดนิทรรศการหรือเพื่อใช้ในการศึกษา
การอุทธรณ์
มาตตรา ๕๖ ผู้จดแจ้งไม่ออกใบจดแจ้งหรือไม่ต่ออายุใบรับจดแจ้ง มีสิทธิอุทธรณ์
พระราชบัญญัติหลักประกันสขุแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กําหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อสํานักงานหรือหน่วยงานที่สํานักงานกําหนดเพื่อเลือกหน่วยบริการเป็นหน่วยบริการประจํา
มาตรา ๗ บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้วให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วยบริการประจําของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๘ ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา ๕ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตามมาตรา ๖ อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้
มาตรา ๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วย ประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย เงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้
คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา ๑๕ กรรมการตามมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีวาระอยู่ใน ตําแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับเลือกหรือแต่งตั้งใหม่อีกได้
มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่งแล้ว กรรมการตามมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง
มาตรา ๑๗ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลสํานักงานให้ดําเนินกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามพระราชบัญญัตินี้
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๔ ให้มีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของรัฐมนตรี
มาตรา ๒๕ ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร
มาตรา ๒๗ ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่ง การบังคับ
มาตรา ๒๘ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สํานักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้หรือได้มา โดยการซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสํานักงาน ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสํานักงาน
มาตรา ๒๙ ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเป็นค่า ใช้จ่ายในการบริหารงานของสํานักงาน
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานหลักประกันสุขภาพ
มาตรา ๔๐ การรับเงินการจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุนรวมทั้งการนํา เงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินจํานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้ หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
มาตรา ๔๒ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการ รักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทําผิดได้แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร
หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๔ ให้สํานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ
มาตรา ๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตาม
มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ กระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา ๔๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา ๔๙ การดํารงตําแหน่ง วาระการดํารงตําแหน่ง ให้นํามาตรา ๑๔ การพ้นจากตําแหน่งและ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ การประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา ๕๑ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติตามที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมอบหมายได้
มาตรา ๕๒ ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน และคณะอนุกรรมการ มีอํานาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการ
มาตรา ๕๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
การกํากับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๕๗ ในกรณีที่สํานักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขท่ีกําหนด ให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่กําหนดตามพระราชบัญญัตินี้จากหน่วยบริการหรือหน่วยบริการเรียก เก็บค่าบริการจากตนโดยไม่มีสิทธิที่จะเก็บหรือเรียกเก็บเกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๖๐ ในกรณีที่การกระทําผิดของหน่วยบริการตามมาตรา๕๘ หรือมาตรา ๕๙ เป็นการกระทําผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้ง ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุม
มาตรา ๖๑ ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคําสั่งจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามหมวดนี้ ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง หรือวันที่ได้รับทราบคําสั่ง แล้วแต่กรณี
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
พ.ศ. ๒๕๕๙
มาตรการควบคุมพิเศษ
มาตรา ๘๗ รัฐมนตรีอาจประกาศกําหนดให้วัตถุตํารับ
มาตรา ๘๕ ให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
มาตรา ๘๘ ห้ามผู้ใดมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๘๖ ในกรณีที่วัตถุตํารับมีวัตถุออกฤทธิ์อันระบุอยู่ในประเภทต่างกันมากกว่าหนึ่งประเภทผสมอยู่ ให้ถือว่าวัตถุตํารับนั้นเป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทที่มีการควบคุมเข้มงวดที่สุด
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๔๐ ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ให้ผู้รับอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อผู้อนุญาตภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย
มาตรา ๔๑ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้โดยเปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๒๗ ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใด ผลิต ขาย นําเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทนอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๓๙ บทบัญญัติมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ไม่ใช้บังคับแก่ผู้รับอนุญาตผลิต
มาตรา ๒๘ ผู้อนุญาตอาจออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาตได
วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออก
วัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้
วัตถุออกฤทธิ์ปลอม
คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และให้นําความในมาตรา ๑๑ มาบังคับใช้
มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท”
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อตาย ลาออก ไร้ความสามารถ จำคุก
มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
การค้าระหว่างประเทศ
มาตรา ๑๐๒ ในการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ให้ผู้รับอนุญาตนําใบอนุญาตนําเข้าของเจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจของประเทศนั้นมามอบให้สํานักงาน
มาตรา ๑๐๘ ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจําเป็น เลขาธิการมีอํานาจผ่อนผันการใช้บังคับมาตรการควบคุมตามมาตรา ๑๐๓ มาตรา ๑๐๔ มาตรา ๑๐๖ และมาตรา ๑๐๗
มาตรา ๑๑๔ ผู้ควบคุมยานพาหนะตามมาตรา ๑๑๓ ต้องจัดให้มีการป้องกันตามสมควรเพื่อมิให้วัตถุออกฤทธิ์นั้นสูญหายหรือมีการนําไปใช้โดยมิชอบ
มาตรา ๑๑๐ ในการส่งออกแต่ละครั้งซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ให้ผู้รับอนุญาตแนบสําเนาใบอนุญาตเฉพาะคราว
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๒๒ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขายหรือนําเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ได้เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต
มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๘ และมาตรา ๘๘ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๑๔ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
มาตรา ๑๕ ห้ามผู้ใดผลิต นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะกรณี
มาตรา ๒๐ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ หรือนําผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๑๑๗ ผู้ใดผลิต นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่ห้าแสนบาท
มาตรา ๑๒๗ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๑๑๖ ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงสองล้านบาท
มาตรา ๑๒๒ ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงห้าหมื่นบาท
มาตรา ๑๒๓ ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๙ ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปีหรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๗๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวต่อผู้รับอนุญาตหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๗๗ ในการปฏิบัติการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๗๔ มาตรา ๗๕และมาตรา ๗๙ วรรคสาม ให้ผู้รับอนุญาตและบุคคลที่เกี่ยวข้อง อํานวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา ๗๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
พระราชบัญัติสุภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕o
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา๕
บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๖
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์
มาตรา ๗
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคลผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
มาตรา๘
ในการบริการสาธารณสุขบุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใดสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการ
มาตรา๙
ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
มาตรา ๑๐
เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้นหน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓
ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า “คสช.”
มาตรา ๑๔
กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ มีสัญชาติไทย มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ ไม่เป็นผู้มีความผิด ปกติทางจิตอันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยถึงไล่ออก ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก
มาตรา ๑๖
การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ (๘) ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกําหนด
มาตรา ๑๗
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๙) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา ๑๘
การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑๐) ให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการ
มาตรา ๑๙
ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง ซึ่ง คสช. แต่งตั้ง
มาตรา ๒๐
ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖
ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๒๗
ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจรับผิดชอบงานธุรการของ คสช และคณะกรรมการบริหาร ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบาย สํารวจ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ดําเนินการเพื่อให้การจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา ๓๑ ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงาน ของสํานักงานขึ้นกฤษฎีกาตรงต่อ คสช. มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสํานักงานและเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงาน
มาตรา ๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกําหนดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสํานักงานในกิจการของสํานักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก แต่เลขาธิการจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติงานในเรื่องใดแทนตาม ระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนดก็ได้
สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๐ การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะ ประเด็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คสช.กําหนด
มาตรา ๔๒ ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการจัด สมัชชาสุขภาพแห่งชาติคณะหนึ่งมีจํานวนตามที่ คสช . กําหนด
มาตรา ๔๓ ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มีหน้าที่ในการจัดการ ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กําหนดวัน เวลาและสถานที่ในการประชุม
มาตรา ๔๕ ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนําไป ปฏิบัติ หรือนําไปพิจารณาประกอบในการกําหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพให้เสนอต่อ คสช.
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๖ ให้ คสช. จัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบ และแนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดําเนินงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
มาตรา ๔๘ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพตามมาตรา ๒๕ ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องดําเนินการต่อไปตามอํานาจหน้าที่ของตน
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับความผิดตามมาตรานี้เป็นความผิดอันยอมความได้
มาตรา ๕๐ ให้โอนบรรดากิจการทรัพย์สินสิทธิ หนี้สิน และเงินงบประมาณของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในส่วนของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติไปเป็นของสํานักงาน
มาตรา ๕๑ ให้นําบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๕๓ ให้นําความในมาตรา ๕๒ มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรือออกจากงานของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สํานักงานรับเข้าทํางานด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๕๔ ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติอยู่ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการไปจนกว่าจะมีการ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑
คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า“ คณะกรรมการสถานพยาบาล”
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗ มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้
มาตรา ๙ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๗
มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําปรึกษา ให้ความเห็น และให้คําแนะนําแก่รัฐมนตรีหรือผู้อนุญาต
มาตรา ๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอ
การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดําเนินการสถานพยาบาล
มาตรา ๑๔/๑ สถานพยาบาลอาจจัดให้มีการศึกษาการฝึกอบรม การวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๑๕ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา ๑๖ ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาลเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๑๙ ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๒๐ วิธีการ และอัตราที่ กําหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาที่ยังประกอบกิจการผู้รับอนุญาตต้องชําระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์และถ้ายังไม่ยินยอมชําระค่าธรรมเนียมและเงินเพิ่มถ้ามิได้ชําระค่าธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนด ให้ชําระเงินเพิ่มอีกร้อยละห้าต่อเดือน
มาตรา ๒๒ ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจํานงต่อผู้อนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย เพื่อขอประกอบกิจการที่ผู้ตายได้รับอนุญาตนั้นต่อไป เมื่อผู้อนุญาตตรวจสอบแล้วว่าบุคคลนั้นมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๒๔ ห้ามมิให้บุคคลใดดําเนินการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจาก ผู้อนุญาต การขอและการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ กําหนดในกฎกระทรวง
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวบัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๘ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๔๙ เมื่อปรากฏว่าผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจส่ังให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๕๐ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ กระทําการหรือละเว้นกระทําการอย่างใด ๆ จนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนอย่างร้ายแรงแก่ผู้ที่อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคยีงกับสถานพยาบาล
มาตรา ๕๕ คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา๔๙ หรือของผู้อนุญาตตามมาตรา ๕๐ หรือมาตรา ๕๑ ผู้ที่ได้รับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ี ทราบคําสั่ง คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ หรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือคณะอนุกรรมการตาม หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๘ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๓๙ หรือมาตรา ๔๕ หรือคําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๙ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา๒๑ มาตรา๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๖๐ ผู้รับอนุญาตผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้จัดให้มีผู้ดําเนินการตามมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจํา ทั้งปรับ
มาตรา ๖๑ ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบแต่ไม่แจ้งภายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๒๖ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๒ หรือมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง หมื่นบาท
มาตรา ๗๖ ใบอนุญาตให้ตั้งสถานพยาบาลและใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลที่ออกตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.๒๕๐๔ ให้ถือว่าเป็นใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการสถานพยาบาลหรือใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลที่ออกตามพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
พ.ศ 2522
การอุทธรณ์
มาตรา ๔๔ การอุทธรณ์ตามมาตรา ๔๓ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสิบวันนับแต่วันที่ผู้อุทธณณ์ได้รับทราบคำสั่ง
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ ให้มีสิทธฺอุทธรณ์
การคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ ๒
มาตรา ๓๒ การกําหนดข้อความของฉลากตามมาตรา ๓๐ ต้องไม่เป็นการบังคับให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องเปิดเผยความลับทางการผลิต
มาตรา ๓๕ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและการตรวจสอบการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับสินค้าที่ควบคุมฉลาก
มาตรา ๓๐ ให้สินค้าที่ผลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานและสินค้าที่สั่งหรือนําเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขายเป็นสินค้าที่ควบคุมฉลาก
ส่วนที่ ๑
มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทําด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรําคาญแก่ผู้บริโภค
ส่วนที่ ๓
มาตรา ๔๐ สมาคมและมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองผู้บริโภคหรือต่อต้านนการแข่งขันอันไม่เป็นธรรมทางการค้า
มาตรา ๓๖ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคคณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้านั้น
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๙ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี ประธารกรรมการ เลขาธิการ ปลัดสำนักต่างๆ
มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอํานาจและหน้าที่ ได้แก่ ไกล่เกลี่ย ส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุนงานคุ้มครอง
มาตรา ๑๒ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๑ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่ง
มาตรา ๑๑ ให้กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อยู่ในตําแหน่งคราวละสามปีกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวก ไม่ให้ถ้อยคำ หรื่อไม่ส่งเอกสารให้แก่พนกงานตามมาตรา ๕ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
มาตรา ๔๗ ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกําเนิด สภาพ คุณภาพ ปรมาณ หรือโฆษณษหรือใช้ฉลากที่มีข้อความเท็จ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน
มาตรา ๔๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซึ่งสั่งตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน
มาตรา ๕๔ ผู้ใดรับจ้างทําฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือรับจ้างติดตรึงฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายกับสินค้า ปรับไม่เกิน 2 หมื่น
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
พ.ศ 2522
สิทธิผู้ป่วย
ส่วนที่ ๒
มาตรา ๓๕ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและการตรวจสอบการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับสินค้าที่ควบคุมฉลาก
มาตรา ๓๒ การกําหนดข้อความของฉลากตามมาตรา ๓๐ ต้องไม่เป็นการบังคับให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องเปิดเผยความลับทางการผลิต
มาตรา ๓๐ ให้สินค้าที่ผลิตเพื่อขายโดยโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานและสินค้าที่สั่งหรือนําเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขายเป็นสินค้าที่ควบคุมฉลาก
ส่วนที่ ๑
มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทําด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรําคาญแก่ผู้บริโภค
ส่วนที่ ๓
มาตรา ๓๖ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคคณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้านั้น
มาตรา ๔๐ สมาคมและมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองผู้บริโภคหรือต่อต้านนการแข่งขันอันไม่เป็นธรรมทางการค้า
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอํานาจและหน้าที่ ได้แก่ ไกล่เกลี่ย ส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุนงานคุ้มครอง
มาตรา ๙ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี ประธารกรรมการ เลขาธิการ ปลัดสำนักต่างๆ
มาตรา ๑๒ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๑ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่ง
มาตรา ๑๑ ให้กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อยู่ในตําแหน่งคราวละสามปีกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
มาตรา ๔๔ การอุทธรณ์ตามมาตรา ๔๓ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสิบวันนับแต่วันที่ผู้อุทธณณ์ได้รับทราบคำสั่ง
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ ให้มีสิทธฺอุทธรณ์
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๕๔ ผู้ใดรับจ้างทําฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือรับจ้างติดตรึงฉลากที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายกับสินค้า ปรับไม่เกิน 2 หมื่น
มาตรา ๔๖ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวก ไม่ให้ถ้อยคำ หรื่อไม่ส่งเอกสารให้แก่พนกงานตามมาตรา ๕ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
มาตรา ๔๗ ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในแหล่งกําเนิด สภาพ คุณภาพ ปรมาณ หรือโฆษณษหรือใช้ฉลากที่มีข้อความเท็จ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน
มาตรา ๔๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซึ่งสั่งตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน