Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 แนวคิด หลักการและความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
บทที่3 แนวคิด หลักการและความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติเข้าเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing)
เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ
วิเคราะห์การดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับตวามต้องการการดูแล
มีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
ความหมายของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21
ทำให้สังคมมีความหลากหลาย
ปัจจัย
มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและการใช้
เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดน
การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและโครงสร้างทางสังคมอย่างรวดเร็ว
การรับบริการทางด้านสาธารณสุขของชาวต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
การย้ายถิ่นของคนเข้ามาประกอบอาชีพของชาวต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
มีนโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆ
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆที่แตกต่างกัน
ด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม
ย่อมต้องอาศัยการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม (Crosscultural study)
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter - cultural study)
รูปแบบที่มีอยู่จึงต้องมีหลากหลายหรือมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการ
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพเพื่อให้ทันและตอบสนอง
เป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยง
ระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
คำว่า"ข้าม"
cross cultural
เป็นการศึกษาภายในของวัฒนธรรม
transcultural
การเน้นเข้าไปอยู่ด้วยและเชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
องค์ประกอบสำคัญ
พฤติกรรม วาจา ลักษณะนิสัย
ลัทธิ ความเชื่อ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี
การประพฤติปฏิบัติในสังคม
ความสำคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
การยอมรับนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากการประกาศสิทธิของผู้ป่วย
ความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งทางสังคม
จัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและวิถีชีวิตที่แตกต่างกันไป
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้สะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
นการค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
กรอบแนวความคิดททางการพยาบาล
4 มโนมติ
ด้านบุคคล
มีแบบแผน พฤติกรรมที่แตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ
สภาวะการผสมผสานการเจ็บป่วยตามมาตรฐานควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม
ทางสังคม
ทางสัญลักษณ์วัฒนธรรม
บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
ค่านิยม
ทางกายภาพ
การพยาบาลมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศุนย์กลาง
แนวคิดสำคัญ
ที่สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
ความต้องการเข้ารับการรักษา
ความแตกต่างด้านสังคม ความเชื่อ และวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
ลักษณะของโรคที่เข้ารับการรักษา
แนวคิดอื่นที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดมนุษย์นิยม(Humanism)
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ
แนวคิดหลักโครงสร้างนิยม (Poststructuralist perspective)
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลง
ของสรรพสิ่งตลอดเวลา
การค้นหาความจริงต้องผ่านตัวคน
โดยใช้ระบบคุณค่า การตีความ การรับรู้
จึงจะเห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
เชื้อชาติ สัญชาติ
บทบาท
เพศ
ชนชั้นวรรณะทางสังคม
แนวคิดการดูแลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในสังคม
สังคมแบบรวมกลุ่ม (collective society)
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่ (isolate society)
แนวนโยบายของประเทศ
ตัวอย่าง
นโยบายทางสังคมของญี่ปุ่น
เป็นแบบปิดประตูไม่ต้อนรับคนอพยพหรือย้ายถิ่นฐานหรือให้การดูแลชนกลุ่มน้อย
นโยบายทางสังคมผสมกลมกลืนหรือแบบบูรณาการของไทย
มุ่งการดูแลให้ผู้ย้ายถิ่นปรับตัวให้เข้าสังคมกับคนกลุ่มใหญ่โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นสื่อกลาง
นโยบายของประเทศสิงคโปร์
ให้สิทธิกับผู้ย้ายถิ่นใหม่อย่างเท่าเทียมกับพลเมืองทุกกลุ่ม
แนวคิดการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมในประเทศไทย
มี
3องค์ประกอบ
เข้าถึง
พัฒนา
เข้าใจ
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่ม
(collectivism) มากกว่าแบบรายบุคคล
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เป็นแนวคิดร่วมสมัย
สะท้อนถึง
ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
การปฏิบัติการพยาบาลใดๆ
พิจารณา
วิถีชีวิต
ขนบธรรมเนียม
ความเชื่อ
ความเข้าใจภาษา
สอดคล้องกับวัฒนธรรม สามารถสร้างสมดุลกลมกลืนให้มนุษย์ได้
วัฒนธรรมที่สำคัญ
การมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรที่มี
จัดหาล่ามสำหรับสื่อสารอย่างเป็นระบบ
อบรมเกี่ยวกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้แก่บุคคลากร
มีป้าย/สัญลักษณ์หลายภาษา
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมทางการพยาบาลที่ควรคำนึงถึง
การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
Who
Where&when
วิธีเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
How
ตัวอย่าง
การดูแลผู้รับบริการที่นับถือ
ศาสนาอิสลาม
การใช้สรรพนามแทนชื่อให้เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษากลางหรือศัพท์ทางวิชาการที่ขัดต่อความเชื่อ
หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในเดือรอมฏอน
เลือกบุคคลและวิธีการที่เป็นธรรมชาติ
การดูแลผู้รับบริการ
ชาวมอญ
พึ่งยาพื้นบ้านเป็นหลัก
มีความเชื่อเกี่ยวกับโรคเรื้อรังไม่หายสาเหตุมาจาก
อำนาจนอกเหนือธรรมชาติ
ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นที่พึ่งของการดำรงชีวิต
หลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
การให้คุ้มค่า ความเชื่อ การปฏิบัติในชีวิตประจำวันของกลุ่มชน เรียนรู้สือต่อกัน เป็นลักษณะเฉพาะ
การดูแล
พฤติกรรมการช่วยเหลือ แตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
การดูแลทางด้านวัฒนธรรม
คุณค่าความช่วยเหลือ ความรู้ด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
การมองโลก
การมองของบุคคลโดยมองที่โครงส้รางของสังคม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรม
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
ช่วยหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจง
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้เข้ากับแบบแผนชีวิตที่ใหม่
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการเพื่อดำรงซึ่งสุขภาพหายจากการเจ็บป่วย
หลักการสำคัญในการพยาบาลผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
4A 2I SE
2I
Involving all family members
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการ
Identifying significant others
กำหนดบุคคล/สิ่งของสำคัญที่มีความหมายต่อวิถีชีวิต
SE
Supporting nutritional preference
ให้การสนับสนุนด้านอาหาร/โภชนาการที่ชอบ
Evaluation nursing actions
ประเมินผลการกระทำ
4A
Avoiding prejudice and cultural bias
หลีกเลี่ยงความลำเอียงและอคติหรืออุปทานเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Assessing the client'view of the situation
ประเมินมุมมองหรือทัศนะในสถานการณ์/ภาวะที่ผู้ใช้บริการประสบอยู่
Acknowledging the nurse and client's cultural heritage
ให้ความสำคัญและเรียนรู้วัฒนธรรมและภุมิหลังของพยาบาลและผู้ใช้บริการซึ่งกันและกัน
Avoiding Language Barriers
หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสื่อสารด้านภาษา
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
พิจารณาถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ ความเข้าใจภาษา
พยาบาลต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรต้องมีความไวของวัฒนธรรม
ได้แก่
ความเชื่อ
พฤติกรรม
ภาษา
วิธีคิด
เศรษฐฐานะ
คุณลักษณะ12ประการ
6.สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใชภาษาไทยได้
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
8.สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม
มีความไวเชิงวัฒนธรรม รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ
9.บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
มีทัศนคติด้านบวกกัยการให้บริการแก่ผุ้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
10.พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
2.มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความเชื่อ
11.ให้การพยาบาลผุ้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
1.มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุกวัฒนธรรม
สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
ให้กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัว การมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล
ควรคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม สนองตอบต่อค่านิยม
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จะทำให้สุขภาพดี หายจากโรคหรือตายอย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มเป็นหลัก
การประเมินผู้ป่วย
ดุข้อมูล วิถีชีวิต แนวคิดและความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
ความเป็นสากลของการดูแลวัฒนธรรม
Cultural universality ความเป็นสากลทางวัฒนธรรม
ความหมายกันกับลักษณะเฉพาะของความหมายแบบแผนในหลายๆวัฒนธรรมที่สะท้อนการช่วยเหลือ สนับสนุน อำนวยความสะดวก
Cultural diversity ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เน้นการดูแลมนุษย์และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม