Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของ การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม(CROSS CULTURAL STUDY)
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (INTER -CULTURAL STUDY)
เป็นแนวทางที่จะได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่
สังคมมีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการ
มีนโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆมากขึ้น
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพเพื่อให้ทันและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง COVID19
รูปแบบบริการที่มีอยู่ จึงต้องมีหลายรูปแบบหรือมีการปรับเปลี่ยนทั้งในแนวคิด วิธีการ
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้น
ให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
คำว่า“ข้าม” ในที่นี้ไม่ได้ หมายถึง ข้ามพรมแดน หรือใช้หลักการทางภูมิศาสตร์
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
มีการวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
เป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ
ผู้ให้บริการจะต้องมีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
ความสำคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
การรณรงค์เกี่ยวกับ เพศสภาวะ และการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิง
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
และประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย
การยอมรับนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีของชีวิตมนษุษย์ความเชื่อ
วิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบสุขภาพระดับปฐมภูมิ
เร่งจัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคาตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เป็นการผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน
ส่งเสริมให้ประสิทธิภาพในการให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจ
ความต่างทางวัฒนธรรม
ความต้องการเข้ารับการรักษา
ความแตกต่างด้านสังคม ความเชื่อ และวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
ลักษณะของโรคที่เข้ารับการรักษา
สะท้อนถึงการให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
เป็นการพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์สิ่งที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
องค์กรมีความไวทางวัฒนธรรม
กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ
ด้านบุคคล
ด้านสุขภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านการพยาบาล
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของ
การศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม
แนวคิดมนุษยนิยม เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
แนวคิดปฏิฐานนิยม เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
หลักการ 6 ประการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การดูแลทางวัฒนธรรม
การมองโลก
การดูแล
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
วัฒนธรรม
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในกระบวนการพยาบาล
Nursing care plan วางแผนการพยาบาล
Nursing care ปฏิบัติการพยาบาล
Nursing diagnosis วินิจฉัยการพยาบาล
Nursing evaluation ประเมินผล
Nursing Assessemnt ประเมินข้อมูล
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
คุณลักษณะ 12 ประการ
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตร
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม
มีความไวเชิงวัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการ
มีทัศนคติด้านบวก
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคม
สามารถรักษาความลับของข้อมูล
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
• ภาษา
• ความเชื่อ
• พฤติกรรม
• วิธีคิด
• เศรษฐฐานะ
ความเป็นสากลของการดูแลทางวัฒนธรรม
สนับสนุน อำนวยความสะดวกหรือทำให้มีความสามารถในการช่วยเหลือประชาชน
เน้นการดูแลมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม