Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gall Stone นิ่วในถุงน้ำดี :hospital:, 93BC4371-E0F1-4AD0-B124-AC4378EFAA61…
Gall Stone นิ่วในถุงน้ำดี :hospital:
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดนิ่วที่ถุงน้ำดีทำให้น้ำดีค้างในถุงน้ำดีซึ่งระคายเคืองผนังถุงน้ำดีทำให้เกิดการอักเสบอุดตันน้ำดีออกจากถุงน้ำดีไม่ได้จึงเกิดการบิดตัวอย่างรุนแรงทำให้ปวดท้องแบบบิดทำให้ คลื่นไส้อาเจียนนอกจากนี้จะทำให้มีความดันโลหิตสูงมีการอุดกั้นทางเดินน้ำดีมีอาการแสดงของดีซ่าน
สาเหตุ
นิ่วในถุงน้ำดีชนิดที่เกิดจากคอเลสเตอรอล (Cholesterol Gallstones) ซึ่งเป็นชนิดที่พบมากที่สุด มักมีลักษณะเป็นก้อนสีขาว เหลือง หรือเขียว และนิ่วในถุงน้ำดีมักจะประกอบด้วยคอเลสเตอรอลที่ไม่ถูกละลายไปและอาจมีส่วนประกอบของสารอื่น ๆ
การวินิจฉัย
อาการ
มักมีอาการแน่นอืดท้อง อาหารไม่ย่อย มีลมมากหรือมีอาการปวดท้องเป็นพัก ๆ ( colic ) ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือใต้ชายโครงขวา ร่วมกับคลื่นไส้หรืออาเจียน ซึ่งมักเป็นหลังรับประทานอาหารมันๆ อาจเป็นอยู่หลายชั่วโมงแล้วหายไป เมื่อเกิดการอักเสบของถุงน้ำดี อาการที่บ่งชัดเจน คือ อาการปวดท้องจะมากขึ้น ปวดบริเวณยอดอก ( epigastrium ) และปวดร้าวทะลุไปยังบริเวณหลัง ปวดมากจนถึงตัวบิดตัวงอ มีไข้ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนด้วยอาการแน่นอืดท้อง โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหารมันซึ่งพบได้บ่อยนั้นไม่ใช่อาการจำเพาะเจาะจงว่าเป็นนิ่วถุงน้ำดีเท่านั้น
การตรวจร่างกาย
ตัวเหลือง ตาเหลือง พบในกลุ่มที่มีนิ่วในทางเดินน้ำดีและมีการอุดกั้นของท่อทางเดินน้ำดี
การตรวจทางรังสีวิทยา
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography) การทำอัลตราซาวด์ เป็นการใช้คลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อสร้างภาพของอวัยวะภายในร่างกาย ซึ่งมักจะใช้เพื่อช่วยวินิจฉัยนิ่วในถุงน้ำดี
การวิจิฉัยโรคแรกรับ : Acute cholecystitis โรคถุงน้ำดีอักเสบเฉีบดลัน
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน : Gall stone นิ่วในถุงน้ำดี
การรักษา
ยา
Morphine 4 mg ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำทุก 4 ชั่วโมง ยาแก้ปวด
Metronidazole 500 mg ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำทุก 8 ชั่วโมง ยารักษาอาการติดเชื้อ
Ceftraxone 2 gm ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำวันละครั้ง ยาฆรักษาอาการติดเชื้อ
การผ่าตัด
การผ่าตัดถุงน้ำดีแบบเปิดช่องท้อง (Open Cholecystectomy) เป็นการผ่าตัดเอาถุงน้ำดีออกด้วยการเปิดแผลทางหน้าท้องบริเวณใต้ซี่โครงด้านขวา ซึ่งจะใช้วิธีนี้ในกรณีที่ผู้ป่วยถุงน้ำดีอักเสบรุนแรง นิ่วมีขนาดใหญ่ หรือเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อน
ข้อวินิจการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3
S:ผู้ผ่วยซักถามคำถามซ้ำๆเกี่ยวกับการดูแลสายระบาย Radioactive drain
S: ผู้ป่วยบอกว่ากลัวจะไมีมีคนคอยช่วยดูแลลูกชายต้องไปโรงเรียน
S: ผู้ป่วยบอกว่าเครียดกลัวแผลจะหายช้าจะกลับไปอยู่บ้าน
O: ผู้ป่วยบอกว่าขาดความมั่นใจในการดูแลตนเอง
O: สีหน้ามีความตึงเครียด กระสับกระส่าย
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวลในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยแสดงสีหน้าผ่อนคายไม่มีความวิตกกังวล
2.ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดได้
3.ผู้ป่วยตอบคำถามเกี่ยวกับคสามรู้การดูแลตนเองหลังผ่าตัดได้ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
1.สามารถสภาพจิตใจระดับความเครียดความวิตกกังวลของผู้ป่วยเพื่อให้การพยาบาลที่เหมาะสมในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด เช่น การดูแลสายระบาย Radivac drain
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกความวิตกกังวลรวมทั้งได้ซักถามเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของป่วย เพื่อลดความวิตกกังวล ความเครียด
3.ให้กำลังใจโดยการใช้คำพูดที่สุภาพและตัดบัตรที่นุ่มนวลเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกดีและรู้สึกปลอดภัยคลายความวิตกกังวล
4.สอนวิธีการปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจว่าร่างกายจะฟื้นตัวเร็วหลังการผ่าตัด
5.. แนะนำวิธีการผ่อนคลายความเครียดโดยใช้วิธีการที่เหมาะสมเช่นการฟังเพลงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอออแนะนำเทคนิคการหายใจเพื่อบรรเทาอาการปวดหายใจเข้าลึกลึกออกยาวยาวทั้งปาก
7.ประเมินความรู้และความสามารถ ความพร้อมของผู้ป่วยทั้งร่างกายและจิตใจก่อนกลับบ้านทั้งผู้ป่วยและญาติ เพื่อลดความวิตกกังวล ความเครียด
6.ดูแลรักษาระบายไม่ให้ดึงหลังแผลของผู้ป่วยและไม่ให้สายหักพับง-ทำให้ราคาจะตามแผน
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้าผ่อนคลายไม่มีความวิตกกังวล
ป่วยสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองลุกเดินเข้าห้องน้ำวันละ 4-5 ครั้ง
ผู้ป่วยยอมรับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้สามารถปรับตัวและดูแลตัวเองได้อย่างเหมาะสม
ผู้ป่วยสามารถตอบคำถามและมีความเข้าใจในข้อมูลที่ได้รับ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2
ปวดแผลผ่าตัดเนื่องจากเจ็บตึงแผลหน้าท้อง
S : ผู้ป่วยบ่นปวดแผลผ่าตัดขณะเปลี่ยนอิริยาบถ Pain scale 8
O: ผู้ป่วยมีสีหน้าตึงเครียด ทำหน้านิ่วคิ้วขมวดตลอดเวลา เปลี่ยนท่านอนตัวเกร็งแสดงถึงความเจ็บปวด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ป่วยปวดแผผ่าตัดลดลง pain score < ระดับ 3
2.ป่วยมีสีหน้าผ่อนคลายไม่เกร็งลำตัวขณะเปลี่ยนท่า
3.ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ วันล่ะ 6-8 ชั่วโมง
4.แผลผ่าตัดและแผลท่อระบายRadivac drain ไม่มีการอักเสบติดเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยและประเมินจากสีหน้าท่าทางของผู้ป่วยเช่น คิวคิ้วขมวดนอนกระสับกระส่ายเวลาเปลี่ยนท่ากำมือแน่น เหงื่อออก หน้าซีด ความดันโลหิตสูง
ประเมินลักษณะของแผลว่ามีการอักเสบหรือติดเชื้อของแผลหรือไม่ได้แก่การบวม แดง ของ ร้อน ลักษณะสีของ discharge แผลผ่าตัดและแผลเท่าระบาย
ดูแลสายระบายไม่ให้ดึงหลังและไม่ให้สายหักพับงให้สามารถระบายสารคัดหลังได้ดี
ดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียง
6.สอนการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ ( deep breathing exercise)เพื่อลดอาการปวดของแผล
7.จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้เพียงพอ
8.จัดท่าให้อยู่ในท่าศีรษะสูงและท่าที่สุขสบาย เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกและลดการเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้อาการปวดลดลงผู้ป่วยมีความสุขสบายมากขึ้น
การประเมินผล
1.ปวดแผลผ่าตัดลดลงระดับความปวด 3 คะแนน
2.แผลผ่าตัดแห้งดีไม่มีการอักเสบติดเชื้อสารคัดหลังจากท่อระบาย
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการข้างเคียงจากการได้รับยา Antibiotic เช่น บวมแดง คลื่นไส้อาเจียน
4.ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก ไม่มีอาการเกร็งบริเวณหน้าท้อง นอนหลับพักผ่อนได้เพียงพอ
O: มีแผลผ่าตัดยาว 10 ซ.ม. และมี radioactivity drain ด้านขวา 1 สาย
S:ผู้ป่วยบอกว่า นอนไม่หลับ
ข้อวินิการพยาบาลที่ 1
มีโอการเกิดการติดเชื้อที่แผล เนื่องจากเนื้อเยื้อบาดเจ็บจากการผ่าตัด
S : อุณหภูมิร่างกาย 37.8 องศสเซลเซียส
O: ผู้ป่วยมีสีหน้าอ่อยเพลีย
O:มีแผลผ่าตัดยาว 10 ซ.ม. และมี radivac drain ด้านขวา 1 สาย
O: WBC Count = 12,000 cell/uL
O : Platelet Count = 454,000 cell/uL
O: % Basophil = 1.3%
เกณ์การประเผล
มีอุณร่างกายอยู่ระหว่าง 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
มีค่า WBC Count อยู่ระหว่าง 5000-10,000 Cell/UL
มีค่า Platelet Count 150,000-400,000 cell/uL
มีค่า Basophil อยู่ระหว่าง 55-70%
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
4.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำวันล่ะ 2-3 ลิตรต่อวัน (ยกเว้นผู้ป่วยที่ต้องจำกัดน้ำดื่ม)เพื่อลการติดเชื้อ
2.ทำความสะอาดแผลทุกวัน เพื่อให้แผลปราศจากเชื้อ
1.สังเกตและประเมินลักษณะของบาดแผล โดยดูลักษณะของแผล เช่น ลักษณะสิ่งคัดหลั่งที่ขับออกจากแผลสี กลิ่น ทุกครั้งที่ทำแผล
5.อธิบายให้ญาติเข้าใจในการปฏิบัติตัว เช่น ล้างมือก่อนและหลังเข้าเยี่ยมผู้ป่วย
6.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
3.ประเมินอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่ติดเชื้อแผลผ่าตัด และแผลท่อระบาย
การประเมินผล
1.ผู้ป่วยไม่มีอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
2.ลักษณะของแผลไม่มีสารคัดหลั่งซึมออกมา
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการข้างเคียงจากการได้รับยา Antibiotic เช่น บวมแดง คลื่นไส้อาเจียน
อาการ
มีอาการคลื่นไส้อาเจียน แน่นท้อง ท้องเฟ้อ
ปวดท้องอย่างรุนแรงโดยเฉพาะบริเวณช่วงท้องส่วนบนหรือด้านขวาและอาจมีอาการปวดร้าวไปยังบริเวณกระดูกสะบักหรือบริเวณไหล่ด้านขวา
ผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดท้องลามไปที่หลัง
ประวัติส่วนตัวผู้ป่วย
ผู้ป่วยเพศ หญิง อายุ 41 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาตไทย ศาสนาพุทธ อาชีพ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ
อาการสำคัญ : ปวดท้อง ปวดหลัง อาเจียน 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน :
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาลปวดแน่นท้อง ท้องอืด อาเจียน มีไข้ ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬา พบนิ่วในถุงน้ำดี
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดหลัง แน่นท้อง ท้องอืด ตัวเหลือง แพทย์แนะนำให้ไปรักษาตามสิทธิ์ จึงส่งพบแพทย์เฉพาะทาง แพทย์นัดมาผ่าตัด
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้อาเจียน