Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
🌾ความหมายของ “การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม”🌾
“การพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่มรวมทั้งวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล ค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและแบบแผนของพฤติกรรมต่างๆของคนในเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกันเพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น”
🌾วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม🌾
2.เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
1.เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
🌾การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม🌾
มีการวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาลค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และ แบบแผนของพฤติกรรมต่างๆของคนในเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
เป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ โดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม
ผู้ให้บริการจะต้องมีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับประโยชน์สูงสุดและรู้สึกพึงพอใจในการเข้ารับบริการด้วย
🌾ความสําคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ🌾
3.การรณรงค์เกี่ยวกับเพศสภาวะและการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิง เพื่อเรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
4.ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
2.ยอมรับนับถือการมีคุณค่าศักดิ์ศรีของชีวิตมนษุษย์ความเชื่อวิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น
5.การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน เพิ่มมิติทางสังคมวัฒนธรรมความเชื่อประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น
1.จัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
🌾แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม🌾
อบรมเกี่ยวกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้บุคลากรมีป้ายหรือสัญญาลักษณ์หลายภาษา
สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
พยาบาลมีการมีความไวทางวัฒนธรรม
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน ร่วมกับการนาข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
การพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์สิ่งที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
มีความไว(SENSITIVE) ในการรับรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
🌾กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ
(2) ด้านบุคคล
ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
(3) ด้านสุขภาพ
เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล ควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
(1) ด้านสิ่งแวดล้อม
ค่านิยม บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
(4) ด้านการพยาบาล
มุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
🌾ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม🌾
แนวคิดมนุษยนิยม
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระมีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆการเคารพนับถือและ ให้คุณค่าของมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
แนวคิดปฏิฐานนิยม
เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
🌾ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมที่พบบ่อยและควรคํานึงถึง🌾
การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
WHO
ผู้ใช้บริการของเราคือใคร?
กลุ่มผู้บาดเจ็บ สตรีมุสลิม ผู้พิการเ ปราะบาง กลุ่มผู้สูงอาย
WHEN & WHERE
เราควรปฏิบัติต่อผู้ใช้บริการที่ไหน?
เวลาพบปะสถานที่ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ
วิธีการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
HOW
เราควรเข้าถึงผู้ใช้บริการอย่างไร?
ภาษาท่าทางการสื่อสารการใช้ล่าม
🌾แนวคิดในการพยาบาลผู้ใช้บริการในยุค”สังคมพหุวัฒนธรรม”🌾
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม
กรอบแนวคิด และการประยุกต์ใช้
ปรัชญาความเชื่อเกี่ยวกับการศึกษาวัฒนธรรม
การวิเคราะห์และ ตีความทาง วัฒนธรรม
🌾แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขึ้นกับ🌾
แนวนโยบายของประเทศ
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมแบบรวมกลุ่ม
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่
เน้นความเป็นส่วนบุคคลมากกว่าแบบกลุ่ม
🌾การทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศไทย🌾
ให้ความสำคัญกับการดูแลตามวัฒนธรรมความเชื่อของบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมที่หลากหลายไปพร้อมๆกัน
เข้าสู่ความเป็นสากลมากขึ้นขณะเดียวกันยังต้องรักษาหรือคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการดูแลที่มีความเป็นเอกลักษณ์เดิมด้วย
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
ข้อกำหนดของสภาการพยาบาล “ผู้ให้การดูแลหรือพยาบาลไทยถือหลักการหรือแนวคิดว่า ต้องให้การดูแลเหมือนกันไม่ว่าจะยากจนหรือร่ารวยนับถือศาสนาใดรวมทั้งผู้ที่อพยพหรือย้ายถิ่นมาอาศัยอยู่ในประเทศผู้ให้การดูแลต้องเน้นความเคารพในความแตกต่างของแต่ละบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมเฉพาะที่มีอยู่มากขึ้น”
วิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนว่าต้องมี 3 องค์ประกอบสำคัญ
เข้าถึง
พัฒนา
การเข้าใจ
🌾หลักการสำคัญในการพยาบาลผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม (4A 2I SE)🌾
Avoiding Language Barriers
หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสื่อสารด้านภาษา
Involving all family members
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วม ตลอดกระบวนการ
Assessing the client’ view of the situation
ประเมิน มุมมองหรือทัศนะในสถานการณ์หรือสภาวะที่ผู้ใช้บริการประสบอยู่
Identifying significant others
กำหนดบุคคลหรือสิ่งสำคัญที่มีความหมายต่อวิถีชีวิต
Avoiding prejudice and cultural bias
หลีกเลี่ยงความลำเอียงและอคติหรืออุปทานเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Supporting nutritional preference
ให้การสนับสนุนด้านอาหารหรือโภชนาการที่ชอบ
Acknowledging the nurse and client’s cultural heritage
ให้ความสาคัญและเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิหลังของพยาบาลและผู้ใช้บริการซึ่งกันและกัน
Evaluation nursing actions
ประเมินผลการกระทำ
🌾ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม🌾
พยาบาลต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
ต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลายฝึกฝนตนเองให้ไวต่อความต่างของภาษาวิถีความคิดความเชื่อ
องค์กรต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
โดยเฉพาะองค์กรที่มีผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
พิจารณาถึงวิถีชีวิตความเชื่อความเข้าใจภาษาตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของผู้ป่วยครอบครัวและชุมชนร่วมด้วย
🌾ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม🌾
พฤติกรรม
ภาษา
เศรษฐฐานะ
ความเชื่อ
วิธีคิด
🌾ความเป็นสากลของการดูแลทางวัฒนธรรม🌾
ความเหมือนกัน กับ ลักษณะเด่นเฉพาะ
แบบแผนค่านิยมวิถีชีวิตหรือสัญลักษณ์ของการดูแล ในหลายๆวัฒนธรรมที่สะท้อนการช่วยเหลือสนับสนุนอานวยความสะดวกหรือทำให้มีความสามารถในการช่วยเหลือประชาชน
เน้นการดูแลมนุษย์และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม
ถ้ามีความรู้ความสามารถในการดูแลข้ามวัฒนธรรมจะทำให้ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างเป็นองค์รวม สอดคล้องกับความต้องการตามเชื้อชาติวัฒนธรรมของผู้ป่วย