Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี ปัญหาในระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี
ปัญหาในระบบทางเดินหายใจ
asthma หอบหืด
ความรุนแรงของAsthma
Moderate asthma
หอบในเวลากลางคืนมากกว่า 2 ครั้งต่อเดือน ต้องใช้ยาขยายหลอดลมเป็นประจา
การตรวจสมรรถภาพการทางานของปอดพบว่า PEFR (Peak expiratory flow rate) อยู่ระหว่าง 60-80
มีอาการหอบหืดมากกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
มีการเปลี่ยนแปลงของค่า PEFR ในช่วงวันอยู่ในระหว่างร้อยละ 20-30
มีค่า PEFR อยู่ในเกณฑ์ปกติ หลังได้รับยาขยายหลอดลม
Severe asthma
การตรวจสมรรถภาพการทางานของปอดพบว่า PEFR (Peak expiratory flow rate) น้อยกว่าร้อยละ 60
มีการเปลี่ยนแปลงของค่า PEFR ในช่วงวันอยู่ในมากกว่าร้อยละ 30
มีอาการหอบหืดเกิดขึ้นบ่อย บางรายอาจมีอาการทุกวันหรือมีอาการในเวลากลางคืนบ่อยครั้ง
แม้ว่าจะได้ยาขยายหลอดลมอย่างเต็มที่ก็ไม่สามารถทาให้สมรรถภาพการทางานของปอดกลับเข้าสู่สภาวะปกติได้
Mild asthma
จำนวนครั้งของการหอบหืดในเวลากลางคืนต่ำกว่า 2 ครั้งต่อเดือน
มีอาการหอบหืดน้อยกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
การตรวจสมรรถภาพการทางานของปอดพบว่า PEFR (Peak expiratory flow rate) สูงกว่าร้อยละ 80
มีการเปลี่ยนแปลงของค่า PEFR ในช่วงวันไม่เกินร้อยละ 20 และมีค่า PEFR อยู่ในเกณฑ์ปกติ หลังได้รับยาขยายหลอดลม
การวินิจฉัย
ได้จากข้อมูลประวัติ อาการทางคลินิก การตรวจร่างกาย และ/หรือ การทดสอบสมรรถภาพปอดที่เข้าได้กับโรคหอบหืด
อาการ
หายใจมีเสียงวี้ด (wheeze)
หายใจไม่สะดวก (breathlessness)
แน่นหน้าอก (chest tightness)
อาการไอ
มีการบีบเกร็งของหลอดลม (bronchospasm)
เป็นความผิดปกติที่มีการอักเสบเรื้อรังของทางเดินหายใจ เกิดจากเซลล์และสารที่เกี่ยวข้องหลายชนิด เป็นผลทาให้เกิดภาวะหลอดลมไวเกิน (hyperresponsiveness)
ทาให้ทางเดินหายใจตีบแคบ
ก่อให้เกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหมายใจ
กลุ่มอาการครูป (croup syndrome)
viral croup
Mild croup
จะมีอาการเสียงแหบ ไอก้อง
เวลาเด็กสงบไม่มี stridor
Moderate croup
จะมีไอเสียงก้องเกือบตลอดเวลา
มี stridorและหายใจอกบุ๋มขณะพัก แต่ยังไม่มีอาการกระสับกระส่าย
Severe croup
จะมีอาการเสียงแหบ
มี stridorและมี chest indrawing
Bacterial croup
มีเสมหะเป็นหนองมาก
ไข้สูง เจ็บคอ
น้าลายไหล
กลืนลาบาก
มีการอุดตันของทางเดิน
หายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหายใจล้มเหลว (respiratory failure)
พยาธิสภาพ
มีอาการบวมของทางเดินหายใจ มีสิ่งคัดหลั่ง อากาศจึง flow ผ่านได้ลาบาก การหดเกร็งของกล้ามเนื้อทำให้ไอมีเสียงดังแบบ barking cough ทางเดินหายใจอุดตัน
เป็นกลุ่มโรคที่มีทางเดินหายใจส่วนต้นอุดกั้นเฉียบพลันจากการติดเชื้อ มีการอักเสบของ larynx, trachea หรือepiglottis
bronchitis
พยาธิสภาพ
หลอดลมมีการอักเสบ บวม ตาย จากการถูกทาลายของ ciliated epithelial cell เซลที่สร้างมูกมีขนาดใหญ่เพิ่มจานวนขึ้น ทาให้มีการสร้างมูกเพิ่มมากขึ้น ทาให้หลอดลมตีบแคบบางส่วนจะทาให้ถุงลมโป่งพอง หรือตีบตันทั้งหมด เกิดปอดแฟบ
สาเหตุ
Staphylococcus aureus
H. influenza
Streptococcus pneumonia
ไวรัส
อาการ และอาการแสดง
ส่วนใหญ่จะเป็นหวัดนามาก่อน 3-4 วัน ต่อมาอาการไอมาก ระยะแรกไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะสีขาวหรือใสเหนียวแล้วขุ่นได้ยินเสียง เสมหะขณะไอ
ฟังปอดอาจได้ยินเสียง rhonchiและ coarse crepitationไม่มี chestindrawing(อกบุ๋ม) ไม่มีหายใจเร็ว อาจมีไข้หรือไม่มีก็ได้
การรักษา
อาจให้ยาขับเสมหะไม่ควรใช้ยาระงับไอ
ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ยกเว้นสงสัยว่าติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนจาก Mycoplasma ให้ยาปฏิชีวนะ และ ทากายภาพทรวงอก
ไอนานเกิน 30 วัน ต้องแยกจากโรควัณโรค โรคหืด การสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
รักษาตามอาการ คือให้พักผ่อนให้เพียงพอ ให้ดื่มน้ามากๆ
Pneumonia
อาการ
ไข้สูง ไอ มีอาการหายใจเร็วกว่าปกติตามเกณฑ์อายุ หอบ หน้าอกบุ๋ม ปีกจมูกบาน ในรายที่เป็นมากอาจตรวจพบริมฝีปากเขียวหรือหายใจมีเสียง grunting
ฟังปอดจะได้ยินเสียง Crepitation, Rhonchi อาจพบเสียงWheezing
ขณะหายใจเข้ามีอาการเจ็บหน้าอก ท้อง คอ ไหล่ (Pleuropulmonarypain) เป็นๆหายๆ
พยาธิสภาพ
ประกอบด้วย
ถุงลม (Alveoli)
เนื้อเยื่อโดยรอบ (Interstitium)
หลอดลมฝอยส่วนปลาย (Terminal and respiratory bronchioles)
ทาให้หลอดลมฝอยส่วนปลายสุด และถุงลมปอดเต็มไปด้วย Exudates
เป็นการอักเสบของเนื้อปอด
ปอดจึงไม่สามารถรับออกซิเจนได้เพียงพอ
การรักษา
การรักษาเฉพาะมักให้ยา Penicillin หรือ Erythromycin หรือ amoxicillin 40-50 มก./กก./วันยาในกลุ่ม 2nd generation cephalosporins
รักษาตามอาการ
ให้ออกซิเจนในรายที่มีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาลดไข้
ให้น้าให้เพียงพอ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะ
ทากายภาพทรวงอกร่วมกับการให้ยาขับเสมหะ
สาเหตุ
Parainfluenzae
S. pneumoniae
Staphtococcus
RSV
พบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ากว่า 1 ปี
การวินิจฉัย
CBC ตรวจนับเม็ดเลือดขาว
พบนิวโตรฟิลสูงในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรีย
พบลิมโฟซัยต์สูงในรายที่ติดเชื้อไวรัส
X-Ray ปอด เชื้อแบคทีเรีย CXR อาจพบ lobar consolidation & pneumatocele(พบได้ในผู้ที่ติดเชื้อStapphylococcus)
ลักษณะปอดแข็งทั้งกลีบ มักเกิดจาก Streptococcus P. เชื้อไวรัส CXR อาจพบ Hyperinflation/ Interstitial infiltration