Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle Diagram
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.๒๕๕๙
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๘ ผู้อนุญาตอาจออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๒๙ ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ จะขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ได้
มาตรา ๒๗ ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใด ผลิต ขาย นำเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทนอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๑๔ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการการขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
มาตรา ๑๕ ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี
เมื่อครบกำหนดตามวาระดังกล่าวในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ
(๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) ถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ หรือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพอื่น
มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการแพทย์
พระราชบัญญัติ
สถานพยาบาลพ.ศ. 2541
หมวด 1
คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการสถานพยาบาล”
มาตรา 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 7 อยู่ในตําแหน่งคราวละสองปีกรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
หมวด 2
การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดําเนินการสถานพยาบาล
มาตรา15 ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา16 ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
พระราชบัญญัติสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๔๕
ข้อ ๖ ภายในกําหนดระยะเวลาอุทธรณ์ผู้อุทธรณ์อาจขอแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ได้โดยทําเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้อุทธรณ์ชี้แจงข้อเท็จจริง วัตถุประสงค์และเหตุผลในการแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์
ข้อ ๗ ให้คณะกรรมการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์จํานวนไม่เกิน ๙ คน
ข้อ ๘ ให้คณะอนุกรรมการตามข้อ ๗ มีอํานาจพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์การออกคําสั่งตามมาตรา๕๘ มาตรา ๕๙ และมาตรา ๖๐
ข้อ ๑๒ อุทธรณ์ในเรื่องใดหรือประเด็นใดที่ได้มีการทิ้งอุทธรณ์หรือถอนอุทธรณ์แล้ว ห้ามมิให้อุทธรณ์ซ้ำในเรื่องนั้นหรือประเด็นนั้นอีก
ข้อ ๑๓ ผู้อุทธรณ์อาจขอถอนอุทธรณ์เมื่อใดก็ได้แต่ต้องก่อนที่คณะอนุกรรมการจะมีคําวินิจฉัยอุทธรณ์และเมื่อได้ถอนอุทธรณ์แล้ว
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
หมวด ๒ การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๒๒ การโฆษณาจะต้องไม่ใช้ข้อความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
มาตรา ๒๓ การโฆษณาจะต้องไม่กระทำด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ร่างกายหรือจิตใจ หรืออันอาจก่อให้เกิดความรำคาญแก่ผู้บริโภค ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการใดได้บัญญัติเรื่องใดไว้โดยเฉพาะแล้วให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น
หมวด ๓ การอุทธรณ์
มาตรา ๔๔ การอุทธรณ์ตามมาตรา ๔๓ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสิบวันนับแต่วันที่ผู้อุทธรณ์ได้รับทราบคำสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นอุทธรณ์ และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ไม่พอใจคำสั่งดังกล่าว ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๑๑ ให้กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง อยู่ในตำแหน่งคราวละสามปี กรรมการที่พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
มาตรา ๑๓ ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุมการประชุมคณะกรรมการทุกคราวต้องมีกรรมการมาประชุมไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๙ให้มี คณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา ๑๕ ใบรับจดแจ้งให้มีอายุสามปีนับแต่วันที่ออกใบรับจดแจ้ง
มาตรา ๑๖
ผู้ซึ่งผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อจัดนิทรรศการ
เพื่อใช้ในการศึกษา วิจัย หรือวิเคราะห์ทางวิชาการ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอรับใบจดแจ้งสําหรับเครื่องสําอาง
มาตรา ๑๔ ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสําอางต่อผู้รับจดแจ้ง
หมวด ๓ ฉลากเครื่องสําอาง
มาตรา ๒๒ ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย และผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจัดให้มีฉลากฉลากของเครื่องสําอางตามวรรคหนึ่ง
มาตรา ๒๓ ในกรณีที่ฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๒ เลขาธิการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งให้ผู้จดแจ้งเครื่องสําอางเลิกใช้ฉลากดังกล่าวหรือดําเนินการแก้ไขฉลากนั้นให้ถูกต้อง
มาตรา ๒๔ ผู้จดแจ้งผู้ใดสงสัยว่าฉลากของตนจะเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๒ผู้จดแจ้งผู้นั้นอาจขอให้คณะกรรมการให้ความเห็นเกี่ยวกับฉลากที่ประสงค์จะใช้นั้นได้
หมวด ๑ คณะกรรมการเครื่องสําอาง
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการเครื่องสําอาง”ประกอบด้วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๒ สิทธิผู้ป่วย
มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย
มาตรา 17 การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้
หมวด ๓ การบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต
มาตรา 27 แพทย์อย่างน้อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่างน้อยหนึ่งคน ที่ประจำสถานพยาบาลของรัฐ
มาตรา 21 การบำบัดรักษาจะกระทำได้ต่อเมื่อผู้ป่วยป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจำเป็นในการรักษา
หมวด ๑ คณะกรรมการ
มาตรา ๗ กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปีและจะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๒ สถานบําบัดรักษาแต่ละแห่งให้
มีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาซึ่งอธิบดีแต่งตั้ง
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
หมวดที่ 3 หน้าที่ของผู้รับอนุญาตของยาแผนไทยในปัจจุบัน
มาตราที่ 20 ผู้ได้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชญากรชั้นหนึ่ง
มาตราที่ 24 ผู้ได้รับนำหรือสั่งยาแผนปัจจุบันเข้ามาในประเทศไทยต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งปฏิบัติตามมาตรา 44
หมวดที่ 5 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนไทย
มาตราที่ 49 ห้ามมีผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือสั่งเข้าเข้ามาในราชอาณาจักรไทย
มาตราที่ 48 ผู้ที่จะออกใบอนุญาตให้ผลิตขายหรือนำสั่งต้องขออนุญาต
หมวด 1 คณะกรรมการยา
มาตรา 7 กรรมการผู้ทรงตุณวุฒิดำรงตำแหน่งได้คราวละ 2 ปี
มาตรา 9การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงถือเป็นองค์รวมการประชุม
พระราชบัญญัติ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
หมวด ๑
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กําหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๕ ให้ยื่น
หมวด ๒
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๗ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
พระราชบัญญัติ โรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด ๒ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีให้ออก เพราะมีพฤติกรรมเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ
(๔) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ”
หมวด ๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา ๒๑ การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) และ (๕) และกรรมการตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง
มาตรา ๒๔ ให้คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกมีอํานาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา ๒๐ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
หมวด ๑ บททั่วไป
มาตรา ๗ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา ๘ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร
มาตรา ๖ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด