Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานคนในพื้นที่ตำบลลี้อำเภอลี้จังหวัดลำพูน - Coggle Diagram
โรคเบาหวานคนในพื้นที่ตำบลลี้อำเภอลี้จังหวัดลำพูน
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความหมายและวัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public health surveillance)
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เก็บข้อมูลโดยการใช้วิธีการเก็บข้อมูลแต่ละเซลล์ปริมาณและเชิงคุณภาพร่วมกันเพื่อทำการศึกษาระดับความรู้และทัศนคติต่อการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลลี้อำเภอลี้จังหวัดลำพูนจำนวน 326 คน
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งมีความใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบและมีความสัมพันธ์ต่อการให้ความรู้และติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องของประชาชนได้อย่างต่อเนื่องโดยพบว่าแหล่งการรับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของประชาชนสัดส่วนมากกว่าครึ่งในการรับคำแนะนำเกี่ยวกับความรู้และข่าวสารด้านสุขภาพต่างๆมาจาก อสม. ที่อยู่ในหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
รูปแบบและองค์ประกอบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การเฝ้าระวังเชิงรุก (activesurveillance)
การทำงานที่เน้นการดูแลสุขภาพเชิงรุกในชุมชนได้มีส่วนร่วมของประชาชนเป็นสำคัญ
1.มีการกำหนดแนวทางเฝ้าระวังความคมป้องกันโรคเบาหวาน
2.มีการพัฒนาหรอกให้เป็นงานส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคดำเนินการในระบบงานสาธารณสุขมูลฐาน
3.การพัฒนาระบบผ้าเฉพาะทางสาขาต่างๆสุพาศเวชศาสตร์ครอบครัวพยาบาลปฏิบัตินักส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลส่วนตำบลโดย
อาสาสมัครให้ทำงานได้อย่างมีคุณภาพโดยแนวทางการปลูกฝังพฤติกรรม ที่ถูกต้องจนทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติตนด้านพฤติกรรม การให้ความสำคัญต่อการที่จะดูแลสุขภาพของตนเองของประชาชน
การเฝ้าระวังเชิงรับ (passive surveillance)
การเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือสำเร็จรูปจากกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดเป็นนโยบายออกมาให้ปฏิบัติตามและการดำเนินงานของพื้นที่อำเภอลี้
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มหรือการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่(sentinel surveillance)
อสม.ผู้ที่ให้การดูแลใกล้ชิดกับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและการให้ความสำคัญต่อการจัดให้มีระบบบริการด้านสุขภาพที่จำเป็นต้องมีความสอดคล้องกับวิถีและความต้องการของชุมชนเพื่อให้เกิดความพึงพอใจที่ดีของผู้รับบริการหรือประชาชนในพื้นที่
การเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (syndromic surveillance)
มีการวางระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่มีความเสี่ยงในกลุ่มประชาชนที่ แบ่งออกเป็นสามกลุ่มคือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
ระบบการเฝ้าระวังทางวิทยาระบาด
การจัดเก็บข้อมูล (Data collection and consolidation)
การรายงานตามความสมัครใจ (voluntary notification)
ประเมินอาการ
ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
หิวน้ำบ่อย
หิวบ่อย รับประทานจุ แต่น้ำหนักลด
ผิวแห้ง
เป็นแผลแล้วหายยาก
ตาพร่ามัว
ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
จัดให้มีการเจาะเลือดตรวจน้ำตาลในเลือด
การรายงานโรคตามกฎหมาย(mandatory notification)
การรายงานโรคผ่านระบบนี้จะรายงานผ่าน รง. 506(บัตรรายงานโรคติดต่อทั่วไป)
การสอบสวนโรค
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์
น้ำหนักเกิน ความอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว ขาดการออกกำลังกาย
อายุที่มากขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้มากขึ้น
โรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ได้รับการผ่าตัดตับอ่อน
การส ารวจโรค
มีการวางระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองที่มีความเสี่ยงในกลุ่มประชาชนที่ แบ่งออกเป็นสามกลุ่มคือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยการทำงานที่เน้นการดูแลสุขภาพเชิงรุกในชุมชนได้มีส่วนร่วม
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานในปีพ.ศ. 2557 พบอัตราป่วยที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีพ.ศ. 2556 โดยตำบลหรือมีอาการป่วยมากที่สุดคิดเป็น 5135.25 ต่อ แสนประชากร รองลงมาคือตำบลแม่ลานคิดเป็น 4324.51 ต่อ แสนประชากรและตำบลแม่ตื่นคิดเป็น 3142.51 ต่อแสนประชากร
การแปลผลข้อมูล (Interpretation)
1.สามารถป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคเบาหวานได้
2.มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อป้องกันตนเองของกลุ่มเสี่ยง
การเผยแพร่ข้อมูล
การทำแผ่นผับและสื่อต่างๆเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
การสอบสวนทางวิทยาระบาด
การสอบสวนการระบาด (Outbreak investigation)เป็นการด าเนินการหาข้อมูลในรายละเอียดของการเกิดโรคที่ผิดปกติในชุมชน เพื่อให้ทราบสภาพที่แท้จริงของการระบาด การสอบสวนการระบาดเป็นกิจกรรมเชิงรุกเข้าไปในพื้นที่ตำบลลี้อำเภอลี้จังหวัดลำพูน
การเตรียมการก่อนการสอบสวน(preparation prior to investigation)ผู้สอบสวนคือ อสม. และพยาบาลชุมชน ต้องเตรียมตัวในด้านความรู้และสิ่งที่เกี่ยวข้องในการสอบสวน เช่น ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และความรู้เกี่ยวกับวิธีการสอบสวนโรคเบาหวาน เครื่องมือตรวจพิเศษเช่นอุปกรณ์วัดระดับน้ำตาล บุคลากรทีมสอบสวน
ยืนยันการวินิจฉัยโรค (case confirmation/ verifying diagnosis) การยืนยันการวินิจฉัยโรคเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยผู้ที่ทำการสอบสวนโรคต้องยืนยันให้ได้ว่าโรคที่ระบาดนั้นเป็นโรคอะไร โดยดูจากอาการ อาการแสดง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (establish the existence of an outbreak) เป็นขั้นตอนที่จำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นการระบาดจริง ไม่ใช่ข่าวลือว่าในพื้นที่มีผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานจริงหรือไม่
การกำหนดนิยามและค้นหาผู้ป่วย(establish case definition)
การค้นหาเชิงรับ(passive case detection)คือ การค้นหาจากผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือสถานบริการทางสาธารณสุขโดยผ่านการวินิจฉัยของแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ในสถานบริการนั้นๆ
การค้นหาเชิงรุก(active case detection)คือ การค้นหาผู้ป่วยที่ยังอยู่ในชุมชนยังไม่ได้มาท าการตรวจวินิจฉัย
การตั้งสมมุติฐานของการระบาด (generating hypothesis)
ปัจจัยการเกิดโรคความอ้วน การไม่ออกกำลังกาย ความเครียด เนื่องจากการตอบสนองของอินซูลินลดลง
ผู้สูงอายุ การสังเคราะห์และการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินลดลง
รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology) เป็นการศึกษาการกระจายของผู้ป่วยตามเวลา สถานที่และบุคคล ที่อาจจะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
รวบรวบข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลอายุ เพศ อาชีพ กิจวัตรประจำวันเพื่อหากลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวาน
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการเกิดโรคโดยพิจารณาลักษณะของ เส้นโค้งการระบาด (epidemic curve)ว่ามีลักษณะเป็นการระบาดแบบใด
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่พิจารณาข้อมูลว่าสถานที่หรือพื้นที่ใดมีอัตราป่วยสูงสุด พื้นที่ใดมีการป่วยก่อนหลัง สัมพันธ์กับกิจกรรมใดหรือไม่