Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม -…
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
โรคภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
(IRON DEFICIENCY ANEMIA)
การรักษา
การให้เหล็กโดยการกิน (Ferrous sulfate)
ให้วันละ 3 ครั้ง ระหว่างมื้ออาหาร ถ้าให้
เหล็กไปพร้อมกับอาหาร ทำให้การดูดซึมลดลง
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ เช่น การให้ยา
ถ่ายพยาธิ
การให้เลือดในรายที่มีภาวะซีดมาก โดยให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
เฉื่อยชา
ชีพจรเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
เบื่ออาหาร
อาหารไม่ย่อย
ท้องผูกหรือท้องเสีย
ซีด : สีผิวหนัง ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เหงือก เปลือกตา
ด้านใน
เหนือยง่าย: เนืองจากหัวใจต้องทํางานเพิมขึ้นในการที่ีจะ
หมุนเวียนเม็ดเลือดแดงที่มีน้อยลงให้นําออกซิเจนไปยัง
เซลล์ให้เพียง
โรคภวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน
(APLASTIC ANEMIA)
สาเหตุ
1.ความผิดปกติแต่กําเนิด
(Congenital)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลังจากการ ทําลาย
ของเนื้อเยื่อ stem cell ในไขกระดูก
-ไม่ทราบสาเหตุ(idiopathic
-การได้รับยาบางชนิด ได้แก่ ยาเคมีบําบัด,
Chloramphenical, ยาแก้ปวด, ยากันชัก
-การได้รบัสารเคมีบ่อยๆ
ซึ่งเป็นพิษต่อระบบเลือด เช่น ยาฆ่าแมลง ทินเนอร์
-เกิดภายหลังการติดเชื้อ เช่น ไวรสัตับอักเสบ
-เกิดภายหลังการได้รับรังสีการรักษาในขนาดสูง
อาการและอาการ
แสดง
Low Platelet เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจุดจํ้าเลือด
ตามลําตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟันและ
เลือดกําเดา เลือดออกในทางเดินอาหาร
Low RBC ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็ว และถ้ามีการเสียเลือดร่วมด้วย ทําให้มี อาการซีดรุนแรงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
Low WBC ติดเชื้อง่าย มีไข้เป็นแผลในปา
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก = จะพบว่ามีเซลล์ไขกระดูกน้อยกว่าปกติและอาจตัดชิ้นเนื้อ ไขกระดูกมาตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยให้ชัดเจนขึ้นโดยพบเซลล์ไขมันเพิ่มขึ้นแทนที่เซลล์ต้นกําเนิดเม็ดเลือด
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด=จะพบเม็ดเลือดทั้งสามชนิดมีจํานวนลดลงอย่างชัดเจน
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การรักษาด้วยฮอร์โมน
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
การรักษาตามอาการ
โรคธาลัสซีเมีย
(THALASSEMIA)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในการ
สังเคราะห์โกลบิน ทําให้การสร้างฮีโมโกลบินลดลงโดยที่สูตรโครงสร้าง ของฮีโมโกลบินยังเป็นปกติ ทําให้
เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น เกิดปัญหาซีดเรื้อรังตั้งแต่แรกเกิด
วินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติการซีดเรื้อรัง
ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
1.การรักษาทั่วไป
2.การให้เลือด
3.การให้ยาขับธาตุเหล็ก
4.การผ่าตัดม้าม (Splenectomy)
5.การเปลียนถ่ายไขกระดูก
6.การให้คําปรึกษาทางพันธุศาสตร์
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากภาวะเหล็กเกิน
โรคเกล็ดเลือดต่ำ
(IDIOPATHIC THROMBOCYTOPENIC PURPURA:ITP)
สาเหตุ
⚫ การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจาก
โรคของไขกระดูกเอง
⚫ เกล็ดเลือดถูกทําลายมากกว่าปกติ
⚫ เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
จุดจํ้าเลือดที่ผิวหนัง ทั้งที่เป็นจุดเล็กๆ และเป็นจํ้าเลือด
เลือดกําเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆร่วมด้วย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ซักถามการมีเลือดออกตามส่วนต่างๆ
การตรวจร่างกาย เช่น มีเลือดกำเดาไหล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ส่วนใหญ่โรคหายได้เอง 70-80 %
ภายในเวลา 1-2 เดือน และจะไม่กลับมาเป็นซ้ำอีก บางรายที่ไม่หาย หรือมีเลือดออกใต้ผิวหนังหลายแห่ง ควรกิน prednisolon
ฮีโมฟีเลีย
(HEMOPHILIA)
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia)
พร่องแฟคเตอร์ 8 พบได้บ่อยที่สุด
ประมาณ 80-85 % ของโรคฮีโมฟีเลีย
ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease)
พร่องแฟคเตอร์9พบได้ประมาณ 10-15%
ของโรคฮีโมฟีเลีย
3.ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์11 พบได้ประมาณ 5 % ของฮีโมฟีเลีย อาการไม่รุนแรงมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessiv
การดูแล
ให้ FFP หรือ Cryoprecipitate
ห้ามเลือดและลดการมีเลือดออกในวัน
แรกประคบด้วยความเย็นเพื่อให้เลือด หยุดวันต่อมาประคบด้วยนํ้าอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และ
ให้พักข้อ
คําแนะนําสําหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็ก
โรค Hemophilia
มีบัตรประจําตัวติดตัวเด็กตลอดเวลา
ชื่อระบุโรคที่เป็น
การป้องกันอุบัติเหตุการจัด
สิ่งแวดล้อม การเล่น
การพาเด็กมารับVaccine ใช้เข็มเล็กสุด กดนาน 5-10 นาที
ดูแลสุขภาพฟันไม่ใหฟ้นผุ หลีกเลี่ยง การใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงแข็ง
หลีกเลี่ยงกีฬาที่กระทบกระแทก
ป้องกันภาวะท้องผูก ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย
โรคเลือดออกจากการมีProthrombin ต่ำ
(Acquired Prothrombim Complex Deficiency Syndrome : APCD)
สาเหตุ
1.ทารกแรกเกิดมีวิตามิน เค ในเลือดน้อยมาก
2.ทารกไม่ได้รับวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
3.การได้รับอาหารเสริมทีjไม่ถูกต้อง
อาการและอาการแสดง
1.มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร
ผิวหนังอาการมักเกิดอย่างเฉียบพลันโดย
ไม่มีอาการเจ็บป่วยใดๆ
2.อาการซีด
มีจ้ำเขียวตามตัว เลือดหยุดยาก
4.อาการตับโตในผู้ป่วยเด็กบางราย
5.ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง
อาจมีอาการพิการทางสมองในระยะต่อม
การรักษา
1.เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามินเค 2-5 มิลลิกรมั เข้าทางหลอดเลือดดํา เป็นเวลา 1- 3 วัน
2.ให้Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง เพื่อเป็นการเพิ่มโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์
3.ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red Cell) ถ้าซีดมา
ภาวะพร่องเอนไซม์
G-6-P-D
(G-6-P-D DEFICIENCY)
สาเหตุ
ยา ยารกัษามาลาเรีย ยาปฏิชวีนะ เช่น chloramphenical
ยาแก้ปวด เช่น aspirin, paracetamal
2.สารเคมีเสื้อผ้าที่อบด้วยลูกเหม็น
3.อาหาร ถั่วปากอ้าดิบๆ
การติดเชื้อ:ไทฟอยด์ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ไข้หวัด
มาลาเรีย
อาการและอาการแสดง
1.ซีดลงอย่างรวดเร็ว
2.ปัสสาวะดําเป็นสีโค๊ก (Hemoglobinuria
ภาวะไตวาย
เนื่องจากมีกรดยูริกเพิ่มจํานวนขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
4.ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่มีภาวะพร่องเอ็นไซม์G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
1.หาสาเหตุที่ทําใหผ้ ูป่วยเกิดอาการซีด
2.การรกัษาภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะไตวาย
3.ให้เลือด ถ้ามีอาการซีดมาก
4.ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง
รักษาด้วยPhototherap