Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. ๒๕๕๑ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. ๒๕๕๑
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ
มาตรา๑“พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา๒บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา3“ความผิดปกติทางจิต”
อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรมอารมณ์ความคิดความจําสติปัญญาประสาทการรับรู้หรือการรู้เวลาสถานที่
มาตรา๔ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติ
หมวด๑คณะกรรมการ
ส่วนที่๑คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มาตรา๕ให้มีคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน
ผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนหกคน
มาตรา๖กรรมการตามมาตรา๕ (๔) และ (๕) ต้องมีคุณสมบั
มีสัญชาติไทย
มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ
ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ
ไม่เคยได้รับโทษจําคุก
ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
มาตรา๗กรรมการตามมาตรา๕ (๔) และ (๕) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา๘นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
ตาย
ลาออก
มติไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด
ขาดคุณสมบัติ
มาตรา๑๐คณะกรรมการมีอํานาจและหน้าที่
กําหนดนโยบายและมาตรการ
วางหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้คําปรึกษา
ตรวจสอบและติดตาม
กําหนดแบบหนังสือให้ความยินยอม
คณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
มาตรา๑๒สถานบําบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
มาตรา๑๓คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีอํานาจหน้าที
ตรวจวินิจฉัย
พิจารณา
มาตรา๑๗การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกายการกักบริเวณ
อยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บําบัดรักษา
หมวด๒สิทธิผู้ป่วย
มาตรา๑๕ผู้ป่วยย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้
ได้รับการบําบัดรักษาตามมาตรฐาน
ได้รับการปกปิดข้อมูล
ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพ
มาตรา๑๖ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่น่าจะทําให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย
หมวด๓การบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่๑ผู้ป่วย
มาตรา๒๑การบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็นในการบําบัดรักษา
มาตรา๒๒บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตต้องได้รับการบำบัดดังนี้
มีภาวะอันตราย
มีความจําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษา
ส่่วนที่๒ผู้ป่วยคดี
มาตรา๓๗ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ส่งผู้ป่วยคดีไปคุมตัว
ส่วนที่๓การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา๔๐ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา๒๙ (๒) ให้หัวหน้าสถานบําบัดรักษามีหน้าที่ดังนี้
ผู้รับดูแลผู้ป่วยรับตัวผู้ป่วยไปดูแล
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ติดตามดูแล
หมวด๔การอุทธรณ์
มาตรา๔๓ให้มีคณะกรรมการอุทธรณ์ประกอบด้วย
อธิบดีเป็นประธานกรรมการ
ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน
ผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนห้าคน
มาตรา๔๔คณะกรรมการอุทธรณ์มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
พิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา๔๒
รายงานผลการดําเนินการ
หมวด๕พนักงานเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจ
เข้าไปในเคหสถาน
ซักถามบุคคลใดๆ
มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆ
หมวด๖บทกําหนดโทษ
มาตรา๕๐ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๑๖ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท