Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางการพยาบาลครอบครัว, นางสาว เอิญ รักษากุล เลขที่ 103 ห้อง 3B…
ทฤษฎีทางการพยาบาลครอบครัว
ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่ (Structural-Function Theory)
ทฤษฏีนี้มองว่า ครอบครัวเปรียบเสมือนสังคมหนึ่ง ซึ่งมีสมมุติฐานเกี่ยวกับสังคม 3 ประการ
สังคมเป็นระบบ ๆ หนึ่ง
ระบบนั้นประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
มีขอบเขตแน่นอน พร้อมทั้งมีกระบวนการรักษาบูรณาการของขอบเขตนั้นไว้เสมอ
ทฤษฏีระบบครอบครัว (Family system theory)
Ludwig von Bertalanffy 1968 ได้นำเสนอทฤษฎีระบบทั่วไป (General systems Theory) แนวคิดหลัก คือ สิ่งต่าง ๆ ในโลกมีความเกี่ยวข้องกันอย่างเป็นระบบที่เกิดจากรวมหน่วยย่อย ซึ่งครอบครัวมีลักษณะดังนี้
เป็นหน่วยย่อยหรือระบบย่อย (Subsystem)
ความเป็นองค์รวม (Holism)
ความสัมพันธ์กัน มีผลกระทบซึ่งกันและกัน (Interconnectedness)
ครอบครัวเป็นทั้งระบบเปิดและระบบปิด (Open, Close System)
มีลำดับขั้นของระบบ (Hierarchy of system)
ขอบเขตของระบบ (Boundaries)
สิ่งนำเข้า (input)
สิ่งนำออก (Output)
การย้อนกลับ (Feedback)
การควบคุมระบบภายใน การปรัปความสมดุล (Self-regulation)
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว (Family developmental theory)
พัฒนกิจของครอบครัว
ระยะครอบครัวเริ่มต้น (period of establishment)
ระยะครอบครัวเริ่มเลี้ยงดูบุตร (Childearing stage)
ระยะครอบครัวบุตรวัยเรียน (School-age chill stage)
ระยะครอบครัวบุตรวัยรุ่น (Teen-age stage)
ระยะแยกครอบครัวใหม่
ระยะครอบครัววัยกลางคน (Middle year stage)
ระยะครอบครัวบุตรก่อนวัยเรียน (Preschool child stage)
ระยะครอบครัววัยชรา (Aging stage)
นางสาว เอิญ รักษากุล เลขที่ 103 ห้อง 3B รหัสนักศึกษา 613601212