Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา, นางสาวอิบตีซัม สาเมาะ…
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
โรคภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron Deficiency Anemia)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตั้งครรภ์ของมารดา ประวัติการคลอดชนิดของนมและอาหารเสริม
การตรวจร่างกาย
เพื่อสังเกตและหาสาเหตุและภาวะซีด ได้แก่ สีผิว ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เยื่อบุตา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เม็ดเลือดเเดงของผู้ป่วยที่มึภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กจะมีขนาดเล็ก ติดสีจาง serum feritin น้อยกว่า 10 นาโนกรัม/ ดล.
การรักษา
การให้เหล็กโดยการกิน (Ferous sulfate) ให้วันละ 3 ครั้ง ระหว่างมื้ออาหาร ถ้าให้เหล็กพร้อมอาหารหรือให้ร่วมกับนมจะขัดขวางการดูดซึมทำให้การดูดซึมลดลง
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ เช่น การให้ยาถ่ายพยาธิ
การให้เลือด รายที่มีภาวะซีดมากหรือมีอาการแสดงของภาวะหัวใจวายโดยให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed red cell)
อาการและอาการแสดง
อาการซีดของสีผิวหนัง ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เหงือกและเปลือกตาด้านใน
เหนื่อยง่าย เนื่องจากหัวใจต้องทำงานเพิ่มขึ้น
ปวดศรีษะ เฉื่อยชา
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูกหรือท้องเสีย
โรคภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงาน (Aplastic Anemia)
สาเหตุ
1.ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด (Congenetal)
2.ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลัง จาการทำลายของเนื้อเยื่อ stem cell ในไขกระดูก จากหลายสาเหตุได้ดังนี้
2.1ไม่ทราบสาเหตุ (Idiopathic)
2.2การได้รับยาบางชนิด ได้แก่ ยาเคมีบำบัด Chloramphenical ยาแก้ปวด ยาแก้บางชนิด
2.3การได้รับสารเคมบ่อยๆซึ่งเป็นพิษต่อระบบเลือด
2.4เกิดภายหลังการติดเชื้อ
2.5เกิดภายหลังการได้รับรังสีการรักษาในขนาดสูง
อาการและอาการแสดง
Low Platelet
มีจุดจ้ำเลือดตามลำตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟันและเลือดกำเดา เลือดออกในทางเดินอาหารทำให้มีมีอาการอาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
Low RBC
ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็วและถ้ามีอาการเสียเลือดร่วมด้วยทำให้มีอาการซีดรุนแรง
Low WBC
ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นแผลในปาก
การวินิจฉัย
การเจาะไขกระดูก
พบว่ามีเซลล์ไขกระดูกน้อยกว่าปกติและอาจตัดชิ้นไขกระดูกมาตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยให้ชัดเจนขึ้นโดยพบเซลล์ไขมันเพิ่มขึ้นแทรที่เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งสามชนิด
จะพบเม็ดเลือดทั้งสามชนิดมีจำนวนลดลง
การรักษา
1.การเปลี่ยนถ่ายกระดูก
ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่ไขกระดูกไม่ทำงานขั้นรุนแรง คือ ซีด เลือดออกและติดเชื้อรุนแรง ไม่ตอบสนองการรักษาด้วยยาโดยการเปลี่ยนถ่ายกระดูกจากพี่น้อง พ่อแม่เดียวกันจะช่วยให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้ถึงร้อยละ 80-90
2.การรักษาด้วยฮอร์โมน
ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่มีอาการไม่รุนแรงมาก เนื่องจากฮอร์โมน Androgen จะกระตุ้นให้ร่างกายหลั่ง Erythropoietin ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
3.การรักษาด้วยยากดระบบ Immune
ใช้ในผู้ป่วยเด็กภาวะโลหิตจางจากไขกระดูกไม่ทำงานที่มีผลต่อการตรวจวินิจฉัยยืนยันว่าไขกระดูกไม่ทำงานจากปฏิกิริยาทางอิมมูน
4.การรักษาตามอาการ
เป็นการรักษาประคับประคองตามอาการ ได้แก่ การรักษาด้วยการให้เลือด เมื่อผู้ป่วยมีอาการซีดรุนแรงหรือมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ การรักษาภาวะติดเชื้อ เป็นต้น
โรคภาวะเกร็ดเลือดต่ำโดยไม่ทราบสาเหตุ (Indiopathic Thrombocytopenic Purpura:ITP)
สาเหตุ
การสร้างเกร็ดเลือดลดลงเนื่องจากโรคของไขกระดูกเอง
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ
เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
จุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง ทั้ที่เป็นจุดเล็กๆและเป็นจ้ำเลือด ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเองหรือภายหลังการกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อย
เลือดกำเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆร่วมด้วย เช่น ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองไม่โตแต่อาจตรวจพบอาการซีด
ถ้าภาวะเลือดออกเกิดขึ้นช้าๆและไม่รุนแรง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการและความผิดปกติ ได้แก่ การมีเลือดออกตามส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น การมีเลือดออกตามส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น จุด จุดเลือดตามตัว แขนตัว
การตรวจร่างกาย
เช่น มีเลือดกำเดาไหล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบว่า เกร็ดเลือดต่ำกว่าปกติแต่เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวปกติ
การรักษา
ส่วนใหญ่โรคหายได้เอง 70-80% ภายในเวลา 1-2 เดือนและจะไม่กลับมาเป็นซ้ำอีก บางรายที่ไม่หายหรือมีเลือดออกใต้ผิวหนังหลายแห่งหรือมีจุดเลือดออกในปากควรให้กิน Prednisolone เพื่อให้ผนังหอดเลือดแข็งแรงขึ้น
ฮีโมฟีเลีย (Hemophiia)
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย A
(Classical Hemophilia) พร่องเฟคเตอร์ 8พบได้บ่อยที่สุด ประมาณ 80-85% ของโรคฮีโมฟีเลีย
ฮีโมฟีเลีย B
(Christmas disease) พร่องเฟคเตอร์ 9 พบได้ประมาณ 10-15% ของโรคฮีโมฟีเลีย
ฮีโมฟีเลย C
พร่องเฟคเตอร์ 11 พบได้ประมาณ 5% ของฮีโมฟีเลีย จะมีอาการไม่รุนแรง
การดูแล
ให้ FFP หรือ Cryprecipitate
ห้ามลือดและลดการมีเลือดออก ในวันแรกประคบด้วยน้ำเย็นเพื่อให้เลือดหยุดวันต่อมาประคบน้ำอุ่นเพื่อให้ลิ่มเลือดละลายเร็วขึ้น
ถ้าเลือดออกในข้อให้ใช้ผ้ายืดพันไว้และให้พักข้อ
เมื่อเลือดหยุดออกเริ่มให้เคลื่อนไหวเพื่อป้องกันข้อติด
คำแนะนำ
มีบัตรประจำตัวติดตัวเด็กตลอดเวลา ชื่อระบุ โรคที่เป็น
การป้องกันอุบัติเหตุ
การพาเด็กมารับ vaccine ให้เข็มเล็กสุด กดนาน 5-10 นาที
ดูแลสุขภาพฟันไม่ให้ฟันผุ
หลีกเลี่ยงกีฬาที่กระทบกระแทก
ไม่ให้ผู้ป่วยอ้วนหรือน้ำหนักมากเกินไป
ป้องกันภาวะท้องผูก ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย
โรคเลือดออกจาการมี Prothrombin ต่ำ (Acquired Prothombin Complex Deficiency Syndrome:APCD)
ภาวะเลือดออกผิดปกติในทารกขวบปีแรก เนื่องจากขาดองค์ประกอบในการเเข็งตัวของเลือดตัวที่ 2 7 9 และ 10โดยส่วนใหญ่จะมีอาการเลือดออกในสมอง พบมากที่สุดในช่วงอายุ 1-2 เดือน
สาเหตุ
เกิดจากการขาดวิตตามิน เค โดยมีปัจจัยส่งเสริมให้ทารกขาดวิตามิน เค ดังนี้
ทารกเกิดมีวิตามิน เค ในเลือดน้อย
ทารกมีวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
การได้รับอาหารเสริมที่ไม่ถูกต้อง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกในสมอง
อาการซีด
มีจ้ำเขียวตามตัวหรือเลือดหยุดยาก
อาการตับโตในผู้ป่วยเด็กบางราย
ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง อาจมีอาการพิการทางสมอง
การรักษา
เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามิน เค 2-5 มิลลิกรัมเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน 1-3 วัน
ให้ Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง เพื่อเป็การเพิ่มโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red Cell) ถ้าซีดมาก
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D Deficiency)
สาเหตุ
ยา ยารักษามาลาเรีย ยาปฏิชีวนะ
สารเคมี เสื้อผ้าที่อบด้วยลูกเหม็น
อาหาร ถั่วปากอ้าดิบๆ
การติดเชื้อ ได้แก่ ไทฟอยด์ ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ไข้หวัด มาลาเรีย
อาการและอาการแสดง
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ปัสสาวะดำเป็นสีโค้กหรือสีเลือด
ภาวะไตวาย เนื่องจากมีกรดยูริกเพิ่มจำนวนขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการซีด
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะไตวาย
ให้เลือดถ้ามีอาการซีดมากๆ
ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง
บทที่ 9 การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา
โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหตุ
เกิดจากการความผิดปกติในการสังเคราะห์โกลบินทำให้การสร้างฮีโมโกลบินลดลง
เกิดปัญหาซีดเรื้อรังตั้งแต่เกิด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากภาวะเหล็กเกิน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ประวัติการซีดเรื้อรัง ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจนับจำนวนและดูลักษณะของเลือดแดง
การรักษา
การรักษาทั่วไปและหลีกเลี่ยงอาหารทีมีธาตุเหล็กสูง
การให้เลือด
การให้ยาขับธาตุเหล็ก
การผ่าตัดม้าม
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การให้คำปรกษาทางพันธุ์ศาสตร์
นางสาวอิบตีซัม สาเมาะ เลขที่ 70 รหัส 611001071