Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดทางด้านหัตการ(การเย็บแผล) - Coggle Diagram
การบำบัดทางด้านหัตการ(การเย็บแผล)
การใช้ยาชา
ยาชาเฉพาะที่ที่ผสม adrenaline เช่น 1% xylocaine with adrenaline 2% xylocaine withadrenaline ออกฤทธิ์เร็ว กระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือด ใช้สำหรับแผลที่เลือดออกมากห้ามใช้อวัยวะส่วนเช่น นิ้วมือ ใบหูนิ้วเท้า ติ่งหู เป็นต้น การคำนวณยา ขนาดยา 3-5 mg/kg
ยาชาเฉพาะที่ไม่ผสม adrenaline เช่น 1% xylocaine without adrenaline 2% xylocaine without adrenaline ใช้อวัยวะส่วนปลายได้ without adrenaline ใช้อวัยวะส่วนปลายได้
การให้ยาปฏิชีวนะและยาแก้ปวด
ซักประวัติแพ้ยากลุ่มเพนนิซิลลิน ถ้าไม่มีประวัติแพ้ยานี้ให้
แผลปนเปื้อนไม่มาก ไม่มี FB เนื้อเยื่อกระทบกระเทือนไม่มาก ขอบแผลเรียบ : Penicillin (250)1x3ac.+hs. 5 วัน
แผลปนเปื้อน เนื้อเยื่อช้า กระรุ่งกระริ่ง ขอบไม่เรียบ มี FB นานเกิน 6 ชม. : Cloxacillin (250)1x3ac.+hs. 5 วัน
แผลสัตว์กัด คนกัด : Amoxycillin (500) 2x2pc. นาน 5 วัน
แพ้กลุ่ม Penicillin : Roxithromycin (150)1x2ac. นาน 5 วัน
ปวด : Paracetamal (500) 2 tab.prn., NSAID : Ibuprofen (400) 1x2pc
การใช้วัคซีน
การให้ภูมิคุ้มกันบาดทะยัก (TT)
•ซักประวัติการได้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
1.ไม่เคยได้ / ได้รับมาเกิน 10 ปี : ฉีด 3 ครั้ง ครั้งละ 0.5 cc เดือนที่ 0,1,6
เข็มแรก เดือนที่ 0
เข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 1 เดือน
เข็มที่ 3 ห่างจากเข็มที่ 2 6 เดือน
2.เคยได้รับครบ 3 ครั้ง ไม่เกิน 10 ปี : ไม่ฉีด เว้นแต่แผลมีการปนเปื้อนมาก (Contamination)
ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม
3.ได้รับครบ 3 ครั้ง เกิน 10 ปี : กระตุ้น 1 ครั้ง
4.เด็กฉีดวัคซีนครั้งสุดท้ายเมื่ออายุ 12 ปี ครบ 10 ปี เมื่ออายุ 22 ปี
ฉีดTT ครบ 3 เข็ม ป้องกันได้ 10 ปี
การรักษาหรือการให้คำแนะนำ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง สามารถปฏิบัติได้ โดยก่อนปฏิบัติหัตถการใด ๆควรมีการประเมินเสียก่อน**
ดูการสูญเสียเลือด ว่ามีเลือดออกภายนอกให้เห็น หรือว่ามีเลือดออกภายในซึ่งต้องประเมินโดยใช้ สัญญาชีพเป็นหลัก
และอื่น ๆ ประกอบ
ดูขนาดและลักษณะของบาดแผลว่ามี การถลอก ฟกช้า ห้อเลือด หรือแผลฉีกขาด หรือไม่
พิจารณาการจัดการบาดแผล
แผลที่ควรเย็บ – แผลอุบัติเหตุไม่เกิน 6 ชม. / นานเกิน 6
ไม่เกิน 12 ชม. ขอบแผลเรียบเนื้อเยื่อไม่ช้า ไม่มี FB
แผลนานเกิน 12 ชม. ไม่เย็บ นัดทาแผลทุกวัน +- admit
refer กรณี Fx. เส้นเลือดฉีกขาด เนื้อเยื่อหายไปจนไม่สามารถดึงเอาผิวหนังมาชิดกันได้
การเย็บแผล
การจำแนกชนิดของบาดแผล (Classification of wound)
Incised wound คือ บาดแผลที่ถูกกระทำ ด้วยของมีคม ลักษณะบาดแผลจะเรียบชิดกัน เช่น บาดแผลผ่าตัด แผลถูกมีดบาด หรือถูกฟันด้วยมีด
Lacerated wound คือ แผลที่มีการฉีกขาดหรือถูกทำ
ลายของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังมักเกิดจากของแข็งที่ไม่มีคม
Contused wound เป็นบาดแผลฟกชํ้าที่ผิวหนังเกิดจากถูกกระทำ
ด้วยของแข็งไม่มีคม
Sprain คือ การบิดตัวของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นหรือข้อต่อ เป็นบาดแผลภายในมองไม่เห็น ส่วนใหญ่จะปวด บางครั้งมีบวมร่วมด้วย
Fracture คือ การหัก ส่วนใหญ่ใช้กับกระดูก
Puncture wound คือ บาดแผลที่ถูกกระทำ ด้วยของแหลมคม
Perforated wound คือ บาดแผลที่มีรูทะลุของอวัยวะในร่างกายที่มีช่องว่างตรงกลาง (holloworgans)
Penetrating wound คือ แผลที่ทะลุเข้าไปในช่องของร่างกาย
บาดแผลที่ไม่ควรเย็บ
สุนัขกัด
แผลติดเชื้อ
ยกเว้นอวัยวะสำคัญ อาจพิจารณาเย็บ
หลักการเย็บแผล
ยึดหลักปราศจากเชื้อ (Sterile Technique)
เลือกเข็มให้เหมาะสมกับแผล
การจับNeedle holder
ปักเข็มให้ตั้งฉากกับผิวหนัง
ใช้ข้อมือหมุนเข็มให้เสยขึ้น
ปล่อยNeedle holder มาจับที่ปลายเข็มที่โผล่มาค่อยๆหมุนเข็มตามความโค้งจนหลุดออกมา
จับเชือก ดึงขอบแผลให้ติดกันและผูกเงื่อนตาย
7.ใช้กรรไกรตัดไหมตัดให้โคนเหลือ 0.5 cms. แต่ละเปลาะห่างกันประมาณ 1cms.