Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินอาการทางระบบประสาท การตรวจร่างกาย, ระดับการทดสอบกำลังของกล้ามเนื…
การประเมินอาการทางระบบประสาท การตรวจร่างกาย
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
การประเมินระดับความรู้สึกตัวโดยใช้ Glasgow Coma Scale
การพูด Verbal Response
V3
พูดเป็นคำ ๆ
V2
ส่งเสียงไม่เป็นคำพูด
V4
พูดคุยได้เเต่สับสน
V1
ไม่ออกเสียงเลย
V5
พูดคุยได้ไม่สับสน
VT
ส่วนผู้ป่วยใส่ E-TT ใส่ ET หรือ T แทน
การเคลื่อนไหว Motor Response
M4
ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ
M5
ทราบตำแหน่งที่เจ็บ
M3
เเขนงอเมื่อเจ็บ
M6
ทำตามคำสั่งได้
M2
แขนเหยียดเกร็ง
M1
ไม่เคลื่อนไหวเลย
การลืมตา Eye Opening
E3
ลืมตาเมื่อเรียก
E2
ลืมตาเมื่อเจ็บ
E4
ลืมตาได้เอง
E1
ไม่ลืมตาเลย
การแบ่งระดับความรุนแรง
Moderate
9-12
Severe
≤ 8
Mild
13-15
ระดับความรู้สึกตัว
Alert
รู้สึกตัวดีหรือโต้ตอบได้ปกติ
Stuporous
ซึม ซึมมากขึ้น พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง
Drowsiness
ง่วงซึม สับสน พูดจารู้เรื่อง
Semicoma
ใกล้หมดสติ ง่วงซึมมากขึ้น
Semicoma
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถปลุกให้ตื่นได้ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
การประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle strength)
การประเมินปฏิกิริยาของรูม่านตา
รูม่านตาขนาดไม่เท่ากัน ข้างที่ขนาดใหญ่ ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
รูม่านตาไม่มีปฏิกิริยาต่อแสงหรือน้อย ขนาดอาจไม่เท่ากัน (4-5 cm.) อยู่ตรงกลาง
ตำแหน่งของพยาธิสภาพ อยู่ Occulomotor nerve damage จาก Uncal herniation
ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อความเจ็บปวด ซึมมาก กึ่งหมดสติ
รูม่านตาขนาดใหญ่เต็มที่และไม่ปฏิกิริยาต่อแสง
พยาธิสภาพอย่างรุนแรงที่ midbrain
ผู้ป่วยหมดสติอย่างสมบูรณ์ ผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต
รูม่านตาขนาดเล็กมีปฏิกิริยาต่อแสง
ตำแหน่งพยาธิสภาพ อยู่ สมองส่วน Diencepharon, metabolic encephalopathies
ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาต่อการกระตุ้นด้วย
เสียง หรืออาจมีความสับสน
รูม่านตาขนาดเท่าปลายเข็มหมุด
ได้รับยา opiate เกิดขนาด ผู้ป่วยหมดสติ
พยาธิสภาพอยู่บริเวณ Pontine
การประเมินจากสัญญาณชีพ ถ้าความดันภายในกะโหลกศีรษะสูงและไม่ได้รับการแก้ไข
ไม่ได้รับการรักษาทันทีจะเกิดอาการ Cushing response
ความดันโลหิต
pulse pressure กว้าง > 30 mmHg
Systolic blood pressure จะสูงขึ้น
ทำให้ช่วงแรงดันชีพจรกว้างขึ้น แต่เมื่อเข้าสู่ระยะสุดท้ายความดันโลหิตจะลดต่ำลงจนถึงแก่กรรมในที่สุด
การหายใจ
การหายใจจะไม่สม่ำเสมอ
สมองถูกกดแต่ต่อมาจะหายใจเร็ว และหยุดหายใจในที่สุด
อุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลงในระยะแรกที่มีการเพิ่ม
ความดันภายในสมอง แต่ระยะสุดท้ายจะกระทบต่อศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ อุณหภูมิมากจนไม่สามารถควบคุมได้
ชีพจร
ชีพจรเต้นช้าและแรง จะเร็วขึ้นในระยะที่ไม่สามารถปรับตัวได้แล้ว
การตรวจร่างกายทั่วไปดูความผิดปกติของโครงร่างทั่วไป
ระดับการทดสอบกำลังของกล้ามเนื้อ
เกรด2
กล้ามเนื้อมีความอ่อนแรง เคลื่อนไหวตามแนวราบ
เกรด 3
ยกต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้ แต่ต้าน
แรงผู้ตรวจไม่ได้
เกรด 1
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
เกรด 0
ไม่สามารถขยับหรือเคลื่อนไหวได้เลย
เกรด 4
สามารถเคลื่อนไหว และต้านแรงโน้มถ่วงได้แต่
กำลังในการต้านแรงของผู้ตรวจไม่เต็มที
เกรด 5
สามารถเคลื่อนไหว และต้านแรงโน้มถ่วงได้แต่
กำลังในการต้านแรงของผู้ตรวจไม่เต็มที