Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสำคัญของพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสำคัญของพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.1 ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing) จึงเป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่า และการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม เพื่อให้การตอบสนอง ที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ย่อมจะต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม (Cross cultural study) หรือการศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter -cultural study)
3.4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
ผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมนั้นผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ
6)สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้
7)ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
5)มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตร
8)สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาได้เหมาะสมและสอดคล้องตามวัฒนธรรม
4)มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกตค้นหาค่านิยมความเชื่อ
9)บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลาย
3)มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ
10)พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
2)มีความเข้าใจตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
11)ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติศาสนาและวัฒนธรรมโดยคํานึงกฎระเบียบ
1)มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคม
12)สามารถรักษาลับของข้อมูล
กระบวนการพยาบาล ที่ใช้การประเมินและวางแผนการ พยาบาล
3.การวางแผนการพยาบาล ให้กระทําตามความต้องการของผู้ป่วย
4.การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล ควรคํานึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม
2.การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาลใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
5.การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะทําให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตายอย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
1.การประเมินผู้ป่วย ดูข้อมูลดูวิถีชีวิต และแนวคิดความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
3.2 วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
มีดังนี้
2.เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
3.เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
1.เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมจึงความสําคัญต่อระบบบริการสุขภาพ
3.ความเท่าเทียมกันในการดํารงตําแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น ทําให้ต้อง ปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการสุขภาพเพื่อให้เหมาะสมกับเพศสภาวะ
4.การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม ส่งผลต่อระบบการบริการต้องมีการ ปรับเปลี่ยนและติดตามความรู้ใหม่ๆให้เหมาะสมและทันกับเหตุการณ์
2.ประชาชนสามารถเรียกร้องตามสิทธิของผู้ป่วยในการรับบริการในสถานบริการและเรียกร้องให้ผู้บริการด้าน สุขภาพมองผู้รับบริการเพิ่มขึ้นโดยไม่มองตามธรรมเนียมปฏิบัติแบบดั้งเดิม
5.บริการให้เข้ากับหลักความเชื่อด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีของคนในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับบริการ พึงพอใจและไม่ขัดกับความรู้สึก ความเชื่อมากขึ้น
1.เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
3.3 แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นการนําแนวคิดการพยาบาลแบบองค์รวม(holistic nursing) มาผสมผสานกับแนวคิดมานุษยวิทยา(anthropology)
(2) ด้านบุคคลซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดําเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
(3) ด้านสุขภาพเป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาลควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
(1) ด้านสิ่งแวดล้อมได้แก่สิ่งแวดล้อมทางกายภาพสิ่งแวดล้อมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ค่านิยม
บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
(4) การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
หลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.การดูแลทางด้านวัฒนธรรมคือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
4.การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม
2.การดูแล คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือ สนับสนุนเพิ่มความสามารถ
5.ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสําคัญกับวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมคือการให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจําวันของกลุ่มชนเรียนรู้สืบต่อกันเกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม เป็นลักษณะเฉพาะ
6.การจัดกิจกรรมการพยาบาล
6.2.การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรมคือ ช่วยเหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรม
6.3.การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรมคือตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้เข้ากับแบบแผนชีวิตใหม่ที่แปลกแตกต่าง
6.1.การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรมคือตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในวัฒนธรรมที่เฉพาะ