Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของ “การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม”
วิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ ค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและแบบแผนของพฤติกรรมต่างๆ
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรม
TRANSCULTURAL NURSING
มีการวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
เป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ
ต้องมีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม ทำไมต้องมี?
เข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม(CROSS CULTURAL STUDY)
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ(INTER -CULTURAL STUDY)
แนวทางที่จะได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ที่จะช่วยอธิบายถึงความแตกต่างของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคม
ยุคศตวรรษที่21 ยุคโลกาภิวัตน์ GLOBALIZATION โลกไร้พรมแดน
รูปแบบบริการที่มีอยู่จึงต้องมีหลายรูปแบบหรือมีการปรับเปลี่ยน
มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพเพื่อให้ทันและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง เช่นเตรียมรับมือกับ COVID-19
การข้ามวัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์
ซึ่งเน้นกระบวนการและวิธีคิดของคนหรือกลุ่ม
CROSS CULTURAL
ความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
TRANSCULTURAL
เชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
องค์ประกอบสำคัญ
พฤติกรรม วาจา ลักษณะนิสัยของคน
ลัทธิ ความเชื่อภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีอาหารการกิน
เครื่องใช้ไม้สอยศิลปะต่างๆ
การประพฤติปฏิบัติในสังคมและผลิตผลของกิจกรรม
สังคมมีความหลากหลายมากขึ้น
พยาบาลเป็นวิชาชีพที่ให้บริการสุขภาพซึ่งเป็นหนึ่งในแปดวิชาชีพการบริการที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเร่งรัดให้มีการรวมตัวกันเพื่อคุณภาพและเป็นหนึ่งในสากล
สิ่งที่พยาบาลจำเป็นต้องมี
ต้องมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการสื่อสารกับผู้มาใช้บริการที่ข้ามชาติ
บำบัดรักษาได้ตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมให้ได้รับบริการที่มีคุณภาพ
ความเข้าใจด้านสังคมวัฒนธรรมของประเทศ
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
MADELEINE LEININGER
การดูแลผู้ป่วยต้องสอดคล้องตามความต้องการตามเชื้อชาติและวัฒนธรรมของผู้ป่วยการจัดการพยาบาลจึงจําเป็นต้องวิเคราะห์ถึงปัจจัยต่างๆทั้งหมด ที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพหรือการเจ็บป่วยของบุคคลในบริบทสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ
SUNRISE MODEL
ทําให้เข้าใจถึงโลกทัศน์ และโครงสร้างทางสังคมของแต่ละบุคคลในแต่ละสังคมวัฒนธรรม
การผสมผสานของแนวคิดการพยาบาลแบบองค์รวม
(HOLISTIC NURSING) กับแนวคิดมนุษยทยา(ANTHROPOLOGY)
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านบุคคล
ด้านสุขภาพ
ด้านการพยาบาล
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม (CAMPESINO, 2008)
HUMANISM
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระมีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆการเคารพนับถือและ ให้คุณค่าของมนุษย์
POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ตัวอย่าง : เชื้อชาติชาติพันธ์บทบาทเพศชนชั้นทางสังคมและความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสถาบันหรือองค์กรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือประชากร
POSITIVIST PHILOSOPHICAL PERSPECTIVE
เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม (HUMANISM)
เน้นการให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
(POSTSTRUCTURALIST PERSPECTIVE)
การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
ค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
พยาบาลและองค์กรมีการมีความไวทางวัฒนธรรม
จัดหาล่าม
อบรมเกี่ยวกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้บุคลากร
มีป้ายหรือสัญญาลักษณ์หลายภาษา
นำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
ให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
ตามวิถีชีวิตของมนุษย์สิ่งที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน
ร่วมกับการนาข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการมาวางแผน
ความสําคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
การรณรงค์เกี่ยวกับเพศสภาวะ ความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
การยอมรับนับถือการประกาศสิทธิของผู้ป่วย
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน
เพิ่มมิติทางสังคมวัฒนธรรมความเชื่อประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น
จัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
รัฐได้เร่งรัดพัฒนาสถาน 3 บริการให้เข้ากับหลักความเชื่อด้านศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีของคนในพื้นที่
แนวคิดในการพยาบาลผู้ใช้บริการในยุค”สังคมพหุวัฒนธรรม”
ปรัชญาความเชื่อเกี่ยวกับการศึกษาวัฒนธรรม
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม
กรอบแนวคิด และการประยุกต์ใช้
การวิเคราะห์และ ตีความทาง วัฒนธรรม
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ดูแลผู้ใช้บริการที่นับถือศาสนาอิสลาม
การใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสม
ไม่เรียกว่า แขก
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษากลางหรือศัพท์ทางวิชาการ
เช่นเลี่ยงการใช้คำว่า การคุมกำเนิด การทำหมัน แต่ใช้คำว่า เว้นช่วงการมีลูก
หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฏอน
เยี่ยมถึงเตียงไปถึงบ้านมากกว่านัดมาพบ
การดูแลผู้ใช้บริการชาวมอญ
นิยมซื้อยารับประทานเองและพึ่งยาพื้นบ้านเป็นหลัก
มีความเชื่อในอำนาจนอกเหนือธรรมชาติเป็นหลักเช่นเรื่องผีโชคชะตาบุญกรรม
ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นที่พึ่งหลักของการดำเนินชีวิต
การทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการพยาบาล
การทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่น
พยาบาลญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติระหว่างการรักษาเสมอ
การให้คุณค่ากับสุขภาพและวิถีชีวิตที่หลากหลาย
ชาวญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะหลีกเลี่ยงการสัมผัสกาย
มีระบบประกันสุขภาพที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ
การทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศไทย
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่ม (COLLECTIVISM) มากกว่าแบบรายบุคคล
ให้ความสาคัญกับการดูแลตามวัฒนธรรมความเชื่อของบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมที่หลากหลายไปพร้อมๆกัน
วิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนว่า
ต้องมี 3 องค์ประกอบสำคัญ คือการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
เข้าสู่ความเป็นสากลมากขึ้นขณะเดียวกันยังต้องรักษาหรือคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการดูแลที่มีความเป็นเอกลักษณ์เดิมด้วย
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขึ้นกับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมแบบรวมกลุ่ม(COLLECTIVE SOCIETY)
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่(ISOLATE SOCIETY)
เน้นความเป็นส่วนบุคคลมากกว่าแบบกลุ่ม
แนวนโยบายของประเทศ (POLICY)