Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวช - Coggle Diagram
โรคซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวช
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความหมายของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public health survillance)
จัดเก็บ วิเคราะห์และแปลผลข้อมูลของผู้ป่วยจิตเวชที่เป็นโรคซึมเศร้าทางสาธารณสุขที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด (Epidemiology surveillance)
ติดตาม สังเกตและพิจารณาโรคซึมเศ้ราในผู้ป่วยจิตเวชอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
การเฝ้าระวังโรค (Disease surveillance)
เฝ้าสังเกตผู้ป่วยจิตเวชที่เป็นโรคซึมเศร้าอย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับการกระจายและแนวโน้มของอุบัติการณ์ของโรค
วัตถุประสงค์
ให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์
ลักษณะการกระจายโรค
ติดตามแผนการเปลี่ยนแปลงของโรค
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อโรค
เฝ้าระวังพฤติกรรมที่แสดงถึงสัดส่วนของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
ให้ข้อมูลการดำเนินงานด้านสาธารณสุข
ตรวจจับการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยหรือสถานการณ์ที่ผิดปกติไป
นำข้อมูไปใช้ประกอบในการวางแผนการดำเนินงานและใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรค
นำข้อมูลจากการเฝ้าระวังนำไปสู่การประเมินมาตรการในการควบคุมป้องกันโรค
เรียงลำดับปัญหาสาธารณสุขในชุมชน
รูปแบบและองค์ประกอบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การเฝ้าระวังเชิงรุก (active surveillance)
เฝ้าระวังโรคในกลุ่มประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงแต่ไม่แสดงอาการ
คัดกรองโรคในประชากรเสริมจากปกติในระยะเวลาสั้น ๆ
การเฝ้าระวังเชิงรับ (passive surveillance)
กำหนดให้ผู้ให้บริการตามสถานการบริการสาธารณสุขเมื่อพบโรคหรือปัญหาที่อยู่ในข่ายการเฝ้าระวัง
ระบบการเฝ้าระวังโรคโดยอาศัยการรายงานโรคของสำนัก
ระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มหรือการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ (sentinel surveillance)
เฝ้าระวังเฉพาะบางพื้นที่หรือบางกลุ่มประชากร
การเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (syndromic surveillance)
เฝ้าระวังที่อายศัยการรายงาน อาการและอาการแสดงผู้ป่วยเป็นราย ๆ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ (event-based surveillance)
เหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการสาธารณสุข
เป็นการรายงานข่าวผ่านช่องทางทั่วไป
องค์ประกอบการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
ความถูกต้องและเป็นตัวแทนของประชากร
ใช้ประชากรที่เป็นตัวอย่างหรือเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเสี่ยง
นิยามของสิ่งที่ทำการเฝ้าระวัง
มีการกำหนดสิ่งที่เฝ้าระวังให้ชัดเจน
ประชากรที่ทำการเฝ้าระวัง
มีการกำหนดประชากรเป้าหมายของการเฝ้าระวัง ได้แก่ ผู้ป่วยผู้ป่วยจิตเวชที่เป็นโรคซึมดศร้า
วงจรของการเฝ้าระวัง
มีการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของประชากรทั้งที่เกิดโรคและไม่เกิดโรค
การรักษาความลับ
ไม่นำข้อมูลส่วนตัวของผู้เฝ้าระวังไปเผยแพร่
กระบวนการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การจัดเก็บข้อมูล (Data collection and consolidation)
การรวบรวมข้อมูลและการเรียบเรียงข้อมูล โดยการสำรวจ โดยใช้วิธีการสังเกต ซักถาม ตรวจสอบ และจดบันทึกรวบรวมลายละเอียดต่าง ๆ
เพื่อค้นหาโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวช
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
การคำนวนวค่าความชุกหรืออุบัติการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลตามบุคคล เวลา และสถานที่ เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยเสี่ยงของโรค หรือเปรียบเทียบการเกิดโรคระหว่าง อดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
การแปลผลข้อมูล (Interpretation)
ได้มีการระบุสภาพปัจจุบันที่พบการเปลี่ยนแปลง การระบาด กลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง และระบุความน่าเชื่อถือของข้อมูล
การเผยแพร่ข้อมูล หรือการให้ข้อมูลย้อนกลับ และการสื่อสารผลการเฝ้าระวัง (Feedback and dissemination)
เฝ้าระวังเป็นระบบการให้ข่าวสารเพื่อการดำเนินการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่งของการเฝ้าระวัง
ระบบการดำเนินการเฝ้าระวัง
ประชากร
ภาวะเสี่ยง
พฤติกรรม
ภาวะแวดล้อม
มาตราการ
ภาวะสุขภาพ
การป่วย
การตาย
ความสม่ำเสมอในการปฏิบัติตัว
การเข้ารับบริการสุขภาพ
องค์ประกอบการเฝ้าระวังแตละกลุ่มโรคใน 5 มิติ
ปัจจัยต้นเหตุ (Determinant)
ปัจจัยทางสังคม และครอบครัว เกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงดูตั้งแต่เด็กของผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะซึมเศร้าร่วมด้วย
พฤติกรรมเสี่ยง (Behavioral risk)
เป็นพฤติกรรมการใช้ชีวิต ไม่เข้าสังคม
การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program response)
การกำหนดกลุ่มมาตราการสำคัญที่จะแก้ปัญหาขอโรคนั้น รวมถึงการเฝ้าติดตามความครอบคลุมของแผนการดำเนินงาน
การติดเชื้อ/ การป่วย การตาย/ ความพิการ (Infection/ Morbidity/ Mortality/ Disability)
เป็นการเฝ้าระวังผลลัพธ์ที่เกิดจากปัญหาสุขภาพ หากไม่ได้รับการแก้ไขมนุษย์ก็จะมีการเจ็บป่วยและตายหรือพิการ
เหตุการณ์ผิดปกติและการระบาด (Abnormal event and outbreak)
เป้าหมายสุดท้ายคือการกวาดล้างโรคให้หมดไป (Elimination and eradication) แต่ส่วนใหญ่จะไม่สามารถทำได้ ดังนั้นเป้าหมายเบื้องต้นคือ การควบคุมให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาหรือผลกระทบรุนแรง
หลักการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ 5 มิติ
ปัจจัยต้นเหตุหรือปัจจัยกำหนดสุภาพ (Determinant)
การเพิ่มของประชากร
การเพิ่มและการขยายตัวของผลิตภัณฑ์อุปโภค บริโภค ตลอดจนเทคโนโลยีที่เป็นความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ
การเข้าไม่ถึงสถานการบริการของประชากรกลุ่มเสี่ยง
การดำเนินงานด้านสุขภาพเพื่อการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ
พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยง (Behavioral risk)
เฝ้าระวังเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ
การป่วย/ การตาย (Morbidity/ Mortality) หรือผลลัพธ์ทางสุขภาพ (Health outcome)
การเฝ้าระวังอัตราการตายก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เหตุการณ์ผิดปกติ (Abnormal event and outbreak)
การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วย
การเพิ่มขึ้นของจำนวนวันที่เข้ารับการรักษา
เหตุการณ์ในความสนใจของสื่อหรือสาธารณชน ที่อาจเกี่ยวข้อง
การตอบสนองของแผนการควบคุมโรค (Program response)
การมีส่วนร่วมในนโยบาย โดยการส่งเสริมการออกกำลังกาย และการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ
ให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
การสอบสวนทางวิทยาการระบาด
โรคระบาดที่เกิดขึ้นประปราย (Sporadic)
โรคทีเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้งในชุมชนนั้น ไม่มีพื้นที่ประจำที่ชัดเจน
ความสำคัญ/ประโยชน์ของการสอบสวนวิทยาการระบาด
ป้องกันการเกิดโรคในขณะนั้นไม่ให้ลุกลามหรือขยายขอบเขตออกไป (Disease control)
ดำเนินการสอบสวนโรค และหาข้อมูล เพื่อสร้างแนวทางในการควบคุมป้องกันโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวช
ป้องกันการเกิดโรคในอนาคต (Disease prevention)
เขียนรายงานและสรุปบทเรียน เพื่อให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการดำเนินงานการควบคุมป้องกันโรค
ได้รับความรู้ที่ไม่เคยรู้มาก่อน (Gaining unknown knowledge)
มีการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการวิจัยเพื่อให้ทราบข้อมูล
ช่วยพัฒนาบุคลากร (Human capacity building)
มีขั้นตอนกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งมีกลุ่มคนเข้ามาเกี่ยวข้องหลากลายกลุุ่ม ทำให้ทีมงานมีโอกาสได้พัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาการ
ประเมินมาตราการป้องกันและควบคุมโรคที่ดำเนินไปแล้ว (Evaluation of preventionsystem)
การที่มีทีมสอบสวนโรคต้องหาแนวทางหรือมาตราเพื่อยับยั้งการแพร่กระจายของโรค
ชนิดของการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (Individual case investigation)
โดยระบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในประเทศไทย ได้กำหนดให้โรคต้องการการสอบสวนเฉพาะรายในผู้ป่วยทุกราย โดยไม่คำนึงว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเท่าใด
การสอบสวนการระบาด (Outbreak investigation)
การหาข้อมูลในรายละเอียดของการเกิดโรคที่ผิดปกติในชุมชน เพื่อให้ทราบสภาพที่จริงของการระบาด โดยค้นหาข้อมูลการเกิดโรคในแต่ละพื้นที่ ซึ่งวิธีนี้ช่วยให้สามารถค้นหาผู้ป่วยได้ใกล้เคียงความจริงที่สุด
รูปแบบของการระบาดของโรค
การระบาดแบบแหล่งโรคร่วม (Common source outbreak)
การระบาดแบบ Point source
ช่วงเวลาการได้รับเชื้อจะเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ครั้งเดียว และเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน
การระบาดแบบ Prolong common source)
เป็นการระบาดจากแหล่งโรคร่วมที่ยังมีการปล่อยเชื้ออยู่เป็นเวลานาน
การระบาดแบบ Intermittent common source
การระบาดโรคร่วมที่มีการปล่อยเชื้อออกมาเป็นระยะ ๆ
การระบาดแบบแหล่งโรคแพร่ขยาย (Propagated source)
เป็นการระบาดจากคนสู่คน (Person to person) เป็นการระบาดที่ผู้ป่วยมีการแพร่เชื้อต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ
ขั้นตอน/ กระบวนการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
ขั้นตอนในการสอบสวนโรค
การเตรียมการสอบสวน (preparation prior to investigation)
ความรู้เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวช
บุคลากรทีมสอบสวน
ยืนยันการวินิจฉัยโรค (case confirmation)
โดยจะต้องยืนยันให้ได้ว่าโรคที่ระบาดนั้นเป็นโรคอะไร
ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (establish the existence of an outbreak)
เปรียบเทียบผู้ป่วยที่พบกับจำนวนผู้ป่วยช่วงที่ผ่านมา
การกำหนดนิยามและค้นหาผู้ป่วย (establish case definition)
โดยใช้หลักการทางระบาดวิทยาคือ เวลา สถานที่ บุคคล และอาการทางคลินิก
การค้นหาเชิงรับ
ค้นหาผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาบหรือสถานบริการสาธารณสุข
การค้นหาเชิงรุก
ค้นหาผู้ป่วยที่อยู่ในชุมชน ยังไม่ได้มาทำการตรวจวินิจฉัย
รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology)
ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับการระบาดมากขึ้นและสามารถที่จะนำไปสร้างสมมติฐาน
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล อายุ เพศ อาชีพ กิจวัตรประจำวัน เพื่อหากลุ่มเสี่ยง
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการเกิดโรค
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
การตั้งสมมุติฐานการระบาด (generating hypothesis
โรคมีการกระจายได้อย่างไร
แหล่งแพร่เชื้ออยู่ที่ใด
ทำการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน
การสำรวจพื้นที่
ดำเนินการควบคุมและป้องกัน
ควบคุมป้องกันโรคได้ในทุกระยะของการสอบสวนโรค
สรุปสาเหตุและเขียนรายงาน