Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆ
ให้ในผู้ป่วยที่ต้องงดน้ำและอาหารเพื่อเตรียมผ่าตัด และผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
ให้สารน้ำหรืดของเหลวทาง Cectral line ทางหลอดเลือดดำใหญ่
การให้สายน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณืที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
ให้ในผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆ และให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ชนิกของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก
ออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/L
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
สารละลายไฮโปโทนิก
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/L
การให้สารน้ำชนิดนี้ค้องให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
ออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 m0sm/L
มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์ ทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายที่ให้สารน้ำ มีคว่มยาว มีการหักพับงอหรือถูกกด
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบิเวณหลอดเลือดแน่นหรือตึงเกินไป
ความหนืดของน้ำน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนเล่นหรืญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือด
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย = จำนวน Sol. x จำนวนหยดต่อ มล. หารด้วยเวลา
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำท่จะให้หารด้วยจำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
แทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสภาพของขวดสารน้ำให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำที่ปราศจากเชื้ออย่างแท้จริง
IV Administration set
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย ทำด้วยเทฟล่อน แกนในเป็นเข็มโลหะช่วยแทงนำให้เข็มพลาสติกอยู่ในหลอดเลือดก่อน
อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน
อาการแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
มีเลือกออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
หลอดเลือดดำอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของหลอดเลือด
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง
การติดเชื้อในกระแสเลือด
อัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไป โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
สำหรับที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือมีภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
เพื่อทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิกปกติของจิตใจ
โรคอวัยวะต่าง เช่นๆ ภาวะไตวาย โรคหัวใจกำเริบ
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
สารละลายไขมัน
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต
น้ำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องกาาของผู้ป่วย
Partial or peripheral parenteral nutrition เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีการคั่งของเลือดดำ พบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
ไข้
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด มีฟองอากาศไปอุดกั้นการไหลเวียนเลือด
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบของเลือด
เซล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือด
เกร็ดเลือด
น้ำเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
O รับจาก O เท่านั้น แต่ให้ได้ทุกกรุ๊ป
AB รับได้ทุกกรุ๊ป ให้ได้เฉพาะ AB
Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูตามระบบ ABO ด้วย
A รับจาก A,O ให้ A ,AB
B รับจาก B,O ให้ B,AB
ภาวะแทรกซ้อนของเลือด
เม็ดเลือดแดงแตกไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย เกิดการให้เลือดผิดหมู่
การให้เลือดมากเกิดไปทำให้หัวใจทำงานหนัก เกิดภาวะหัวใจวาย มีอาการน้ำท่วมปอด หลอดเลือดำโป่งพอง
ไข้
มีอาการแพ้ มีผื่นคัน คั่งในจมูก หลอดลมบีบเกร็ง
การให้เลือดที่เก็บไว้นานเกินไปทำให้เกิดภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ ทำให้ชีพจรเต้นเบาช้า อาจหยุดเต้นได้
การไล่ฟองอากาศไม่หมดทำให้เกิดการอุดตันที่ปอดจะเจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย เป็นลม ช็อค
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าอละออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุกๆ 8 ชม.
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกหยด
จดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชม. ต้องสรุปลงในแผนรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท