Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท, นางสาว ปิยวรรณ แสวงวงษ์…
บทที่ 11การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท
อาการชัก
ชักจากไข้สูง
(Febrile convulsion)
ชนิด
Primary febrile convulsion
สมองไม่มีความผิดปกติ
Secondary febrile convulsion
สมองมีความผิดปกติ
การรักษา
ระยะที่กำลังชัก
กรณีชักเกิน 5 นาที ต้องให้ยาระงับชัก เช่น diazepam ทาง IV หรือ ทวารหนัก เนื่องจากต้องทำให้หยุดชักให้เร็วที่สุด
ให้ยาลดไข้ + เช็ดตัวลดไข้ (ตอนชักห้ามให้ยากิน)
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรววจร่างกายอย่างละเอียด
ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานประจำทุกวันนาน 1-2 ปี เช่น Phenobarbital , Depakine
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชนิดแบ่งตามอาการ
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ระบบประสาทไม่มีความผิดปกติ
Secondary generalized epilepsy ระบบประสาทมีความผิดปกติ
Partial seizure
ชักกระตุกเฉพาะที่
สาเหตุ
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อในสมอง
พันธุกรรม
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
Ketogenic diet จัดอาหารที่มีไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
รักษาตามสาเหตุ เช่นผ่าตัดเอารอยโรคที่สมองออก
คำแนะนำผู้ปกครอง
ให้เด็กรับประทานยากันชักทุกวันนาน 2 ปี ห้ามหยุดยาเองและแนำนำการป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตรวจตามนัดเพื่อประเมินอาการและปรับยากันชักเหมาะสม
ใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชัก
ชักจากการติดเชื้อ
Encephalitis (เนื้อสมอง)
การรักษา
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า - ออก ของร่างกาย
ให้สารน้ำทาง IV
ให้O2 ,เจาะคอ ,เครื่องช่วยหายใจ
นอนหลับ
ให้ยาระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง
อาการและอาการแสดง
หายใจไม่สม่ำเสมอ
กระสับกระส่าย อารมณ์เปลี่ยนง่าย เพ้อ อาละวาด
ไข้สูง
ชัก การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ปวดศีรษะ
ซืมลง อาจถึงขั้นโคม่าใน 24-72 ชม.
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง (Stiffness of neck)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน เช่น วัคซีนไอกรน หรือ วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อปรสิต
เชื้อรา
Meningitis (เยื่อหุ้มสมอง)
การรักษา
การรักษาเฉพาะ การให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับเชื้อที่เพาะ เชื้อCSF
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน เช่น Hib , JE ,BCG
การรักษาตามอาการ
ให้ยาลดไข้
ถ้ามีภาวะหายใจลำบากหรือหมดสติ อาจต้องเจาะคอหรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะไม่สมดุลย์สารน้ำและอิเล็คทรอไลท์ต้องให้สสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยานอนหลับ
ให้ยาลดอาการบวมของสมอง
ให้ยากันชัก
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงการติดเชื้อ เช่น มีไข้
อาการแสดงการระคายเคืองเยื้อหุ้มสมอง
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
Kernig’s sign ได้ผลบวก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
ปวดศรีษะ ซึมลง อาเจียน ชัก
การตรวจ Cerebrospinal fluid test
การวิเคราะห์ผลการตรวจ CSF
bact
Chemistry
Protein สูง
Glucose ต่ำ
Pressure
ปกติ / เพิ่ม >180
WBC
Type PMN
จำนวน 100-10,000
ลักษณะ
ขุ่น
TB
Chemistry
Protein สูง
Glucose ต่ำ
Pressure
สูง>200
WBC
Type L
จำนวน 25-500
ลักษณะ
ใส เหลืองอ่อน
virus
Chemistry
Protein ปกติ / สูง
Glucose ปกติ
Pressure
ปกติ 110-150
WBC
Type L
จำนวน 10-100
ลักษณะ
ใส
Pressure
ทารก 100 mmH2O
เด็กโต 110-150 mmH2O
Protein
14-45 mg/dl
Red cells
ไม่พบ
Glucose
50-75 mg/dl (ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลในเลือด)
White cell count
ไม่พบ
สาเหตุ
เชื้อรา (Fungal memingitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุขณะผู้ป่วยชัก
ช่วยแพทย์เตรียมตัวและส่งตรวจทางห้อง)ฏิยัติการตามแผนการรักษา
รายที่มีอาการชักนานให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้เงียบและอากาศถ่ายเท ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
ดูแลให้ได้ยากันชัก ยาคลายกล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
ป้องกันอุบัติเหตุด้วยการยกไม้กั้นดตียงขึ้นทุกครั้งหลังการพยาบาล และจัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้เป็นระเบียบ
ถ้ามีไข้สูง ให้เช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำธรรมดาหรืออุ่น ถ้าไข้ไม่ลดให้แจ้งแพทย์เพื่อขอยาลดไข้ตามแผนการรักษา
สังและบันทึกลักษณะกาชักและระดับความรู้สึกตัวขณะชัก
รายที่มีอาการชักให้เตรียมไม้กดลิ้นที่โต๊ะข้างเตียง
วัดและบันทึก v/s ทุก 4 ชม.
งดน้ำ งดอาหารทางปากขณะชักตามแผนการรักษา
คำแนะนำและเตรียมความรู้แก่บิดา
ปฏิบัติตัวเมื่อมีไข้
การปฏิบัติตัวเมื่อชัก
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
การดูแลให้ยากันชักและผลข้างเคียงของยา
รายที่หายใจขัด เขียว ให้ได้รับ O2 ตามแผนการรักษา
ดูดเสมหะ เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันสำลัก ขณะชักไม่ผูกรัด หรือตรึงป้องกันกระดูกหัก
โรคไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis (JE)
การจรวจวินิจฉัย
ในปัจจุบันใช้วิธีตรวจหาIgM antibody เฉพาะต่อไวรัสJE ในน้ำไขสันหลังและเลือด
การรักษา
ดูแลเฉพาะ
ให้ยาลดไข้
ลดการบวมของสมอง
ระงับอาการชัก
ดูดเสมหะเพื่อดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง หรือทำการเจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะมากขึ้น อาเจียน ง่วงซึมไม่รู้ตัว
บางรายมีอาการเกร้ง ชักกระตุก อาจมีอาการหายใจไม่สม่ำเามอ
บางรายรุนแรงจนเสียชีวิตในวันที่ 7-9 ของโรค
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ยุงกัดโดยเฉพาะเวลาพบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูบริเวณใกล้ที่พักอาศัย
ฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
ครั้ง 1 อายุ 1 ปีครึ่ง
ครั้ง 2 ห่างครั้งแรก 2-4 Wk
ครั้ง 3 หลังจากครั้ง 2 นาน 1 ปี
ควรให้วัคซีนนี้พร้อมกับ booster dose DTP และ OPV
โรคสมองพิการ (Cerebral palsy)
หมายถึง
มีความผิดปกติขิงสมองทำให้มีปัญหาการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ จะเกิดก่อนอายุ 8 ปี
สาเหตุ
ระยะคลอด
เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 30
สมองขาด O2
ได้รับอันตรายจากการคลอด ,รกพันคอ ,คลอดท่าก้น, การใช้คีมดึงเด็ก
ระยะหลังคลอด
สาเหตุของสมองพิการร้อยละ 5
ได้รับการกระทบกระเทือนของสมอง
แรกเกิดมีตัวเหลือง
เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ
ขาด O2 จากการจมน้ำ
การติดเชื้อที่สมอง
การได้รับสารพิษ เช่นสารตะกั่ว ยาฆ่าแมลง
ระยะก่อนคลอด
มารดาขณะตั้งครรภ์ขาดสารอาหาร
มารดามีภาวะชักหรือปัญญาอ่อน
การเกิดก่อนกำหนด นน.ตัวน้อย
มีเลือดออกทางช่องคลอดในการตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9
ขณะตั้งครรภ์มารดาใช้ยาบางชนิด
การรักษา
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา ลำตัว
การให้ Early stimulation เพื่อให้สมองส่วนที่ไม่ได้เสียหายได้พัฒนา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่นdiazepam,baclofen
การแก้ไขการรับรู้สำคัญที่ผิดปกติ
การแก้ไขระบบประสาทที่ผิดปกติ
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะส่วนต่างๆของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
อ่อนปวกเปียก
หายใจช้า
พัฒนาการช้า เช่น การดูด การกลืน การเคี้ยว
รีเฟล็กซ์ผิดปกติ
สมองที่ควบคุมการทารงตัวสูญเสียจะทำให้การเคลื่อนไหวมีความผิดปกติ
ปัญญาอ่อนน้อยถึงมาก
พูดไม่ชัดเจน
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากปัญหาการรับประทานอาหาร
เสี่ยงต่อพัฒนาการช้ากว่าวัย/มีพัฒนาการช้ากว่าวัย เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร้องด้านการเคลื่อนไหว/ระบบประสาท
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ในการดูแลเด็ก
Hydrocephalus
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
หมายถึง
ภาวะที่ในกะโหลกศ๊รษะมีการคั่งของน้ำไขสันหลังบริเวณ Ventricle และsubarachnoid space มากกว่าปกติ
สาเหตุ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
การดูดซืมของน้ำไขสันหลังมีความผิดปกติ
นำไขสันหลังสร้างหรือผลิดมากเกินไป
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะ สูง signs of increase intracranial pressure )
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง setting-sun sign
เสียงเคาะกะโหลกศีรษะเหมือนหม้อแตก(macewensige Cracked pot sound)
ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน(diplopia)
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำที่บริเวณใบหน้าหรือศรีษะโป่งตึงเห็นชัดมากกว่าปกติ(enlargement & engorgement of scalp vein)
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ(hyperactive reflex)
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ (fontanelle bulging )
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ศรีษะโต/ หัวบาตร (craniumenlargement)
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ(delaydevelopement)
การเจริญเติบโตช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
( transillumination test)
Ventriculography
CT scan
Ultrasound
Head Circumference
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (Shunt)
Ventriculo-peritoneal Shunt (V-P Shunt)
ภาวะแทรกซ้อน
Obstruction
Infection
ให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง (Diamox)
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลัง
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเวลาเดียวกัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
ประเมินอาการความดนในกะโหลกศีรษะสูง
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
รักษาความสะอาดของผิวหนัง
จัดผ้าปูที่นอนให้เรียบตึง
เปลี่ยนท่านอนทุก 2 ชม.
ประเมินการเกิดแผลกดทับสม่ำเสมอ
จัดให้นอนบนที่นอนนุ่มๆ รองศีรษะ ไหล่
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหารเนื่องจากการสำรอก อาเจียนหรือดุดนมได้น้อย
อุ้มทารกศีรษะสูงขณะให้นม
จับเรอไล่ลมหลังให้นม
ดูแลให้ได้รับนมครั้งละน้อยๆโดยให้บ่อยครั้ง
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ดูแลและป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด
การระบายน้ำไขสันหลังเร็วเกินไป ให้นอนราบหลังผ่าตัดใน 24 ชม.แรก
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
การอุดตันของสารระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะเนื่องจากการผ่าตัด
ที่สมองเกิดแผล
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การทำงานผิดปกติของสารระบายน้ำในโพรงสมอง
Spina bifida
ชนิด
Meningocele
Myelomeningocele
Spina bifida occulta
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ การตวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Alphafetoprotein ในน้ำคร่ำสูง
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
ดูแลถุงน้ำให้ชุ่มชื้น ระวังไม่ให้เกิดแผล
ตรวจสอบการฉีกขาด รั่ว
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ประเมินการติดเชื้อ
จัดท่านอนตะแคงหรือนอนคว่ำ
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากการคั่งของน้ำปัสสาวะ
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ทำ Crede’manuever ทุก 2-4 hr
กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการกดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตอาการอ่อนแรงของแขนขา
ทำ Passive Exercise ให้ผู้ป่วย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่ายจากการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำ
Check V/S
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
เฝ้าระวังและสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ คือแผลติดเชื้อ และ Hydrocephalus
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินภาวะ Hydrocephalus
บริเวณแขนขา / เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 2-4 ชม.
Guillain Barre ‘s Syndrome
สาเหตุ
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติโดยมีการสร้างแอนติบอดีย์ต่อ Myelin sheath ของเส้นประสาทไขสันหลัง ทำให้ไม่สามารถสั่งงานไปที่กล้ามเนื้อได้
อาการและอาการแสดง
motor
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการอัมพาตใน GBS จะเริ่มต้นที่ขาชา และลุกลามขึ้นที่แขนและลำตัว กล้ามเนื้อหน้าอก อาจทำให้หายใจล้มเหลวได้ แต่ถ้ารายไม่รุนแรงอาจมีแค่ปลายเท้าตกเท่านั้น
อาการของประสาทสมอง
ประสาทสมองคู่ที่ 7 ใบหน้า มีอัมพาตใบหน้า ตาปิด ปากไม่สนิท การแสดงสีหน้าผิดปกติ เส้นประสาทคู่ที่ 10 มีการกลืน พูดหายใจลำบาก
Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา เจ็บ และปวดปลายแขนขา ไหล่ สะโพก โคนขา อาการคล้ายตะคริวส่วนปลาย แล้ว มีอาการอ่อนแรง ชา สูญเสียreflex
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ ความดันโลหิตไม่คงที่ หัวใจเต้นช้าหรือเร็ว หน้าแดง เหงื่ออก ปัสาวะคั่ง ท้องอืด
การรักษา
การรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
การรักษาด้วย Intravenous Immunglobulin (IVIG)
การรักษาภายใน2-4 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีอาการครั้งแรกจะสามารถช่วยชีวิตได้เร็วขึ้น
วินิจฉัยการพยาบาล
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ทุกข์ทรมานจากอาการปวดกล้ามเนื้อ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหวจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตนเอง
ขาดการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นๆจากไม่สามารถพูดได้
ผู้ป่วยและญาติกลัว วิตกกังวล กับอาการของโรคที่เป็น จากการขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
เสียงต่อการขาดสารอาหารจากไม่สามารถช่วยตนเองจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างสมบูรณ์
เสี่ยงต่อการเกิดการหายใจไม่เพียงพอจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
หลักการพยาบาลในระยะเฉียบพลันและต่อเนื่อง
ติดตามประเมินการเคลื่อนไหว กำลังของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส สภาวะของmotor sensory และ cranial nerve ช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพ Observe อาการแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว
ดูแลปัญหาการขาดสารอาหาร
สังเกตอาการปวดตามกล้ามเนื้อ
ประคับประคองด้านจิตใจ ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดีสำหรับผู้ป่วย
ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่พอจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
Check vital sign โดยเฉพาะ RRต้องมีการตรวจวัด vital capacity , tidal volumeหรือ minute volume
กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome)
อุบัติการณ์ 1 : 1000
มีโอกาสเสี่ยงสูงถ้ามารดาอายุ > 30 ปี และสูงมากขึ้นเมื่อมารดาอายุ >35 ปี
ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
อาการและอาการแสดง
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loopมากกว่าปกติและพบ distal triradius ในฝ่ามือ
นิ้วก้อยโค้งงอ(clinodactyly)
ทางเดินอาหารอุดตัน
มือกว้างและสั้น มักจะมี simian crease
Hypothyroidism
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก มีรอยแตกที่ลิ้น
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
brush field spot
Polycythemia
หูอยู่ต่ำ
ความผิดปกติเกี่ยวกับตา
ตาเข
ต้อกระจก ต้อหิน
สายตาสั้น
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
ความผิดปกติเกี่ยวกับหู
ช่องรูหูเล็ก
มีปัญหาการได้ยิน
หัวแบนกว้าง (brachiocephaly)
อวัยวะเพศของผู้ชายอาจเล็กกว่าปกติ พัฒนาการทางเพศช้า
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (hypotonia)
หัวใจพิการแต่กำเนิด
-การติดเชื้อ โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจเกิดง่ายกว่าเด็กทั่วไป
การรักษา
การรักษาโรคทางกายที่มีร่วม คือ โรคหัวใจ ระบบทางเดินอาหารอุดกั้น ไฮโปไทรอยด์
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย (early stimulation)
นางสาว ปิยวรรณ แสวงวงษ์ เลขที่ 71 36/1 612001072
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่ปัญหาทางระบบประสาท.สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/11udYhlE3rt2QnBw7-IRxjcqGOFHsmT16/view
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).โรคสมองพิการ
(Cerebral Palsy).สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/1vSJCTKOCuIdRUZtKb37ExGh6Bx94eipF/view
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).Hydrocephalus.สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/19ENta47z4NpCwOP_hYjYfOz2nWoUGg3b/view
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).Spina bifida
(Cerebral Palsy).สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/1laGTLO31bXExqvNkMrzZmAj1U-Eck5Lc/view
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).กลุ่มอาการดาวน์ (Down ’s syndrome)
(Cerebral Palsy).สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/1N2dtqfLVKcx6ev2or0ORZKOpqMHcae6T/view
อ้างอิง : อาจารย์วิริยาภรณ์ แสนสมรส.(2563).Guillain Barre ‘s Syndrome
(Cerebral Palsy).สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม2563.จาก
https://drive.google.com/file/d/1kQyHu0JNSlNQtE0sfs5-78l97kXBzsI_/view