Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม, พื้นบ้าน ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลง…
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาช่วยให้สามารถ
ดํารงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
สังคมวิทยาจําแนก
วัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ สิ่งของเกิดจากความ
คิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ คือ ทัศนะ ประเพณี
ขนบธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่
ยอมรับในกลุ่ม
ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม ปรัชญา และกฎหมาย
ลักษณะพื้นฐานที่สําคัญของวัฒนธรรม
ความคิดร่วมและค่านิยมทางสังคม
สิ่งที่มนุษย์เรียนรู้
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์
องค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ วัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
องค์การหรือสมาคม โครงสร้างซึ่งสามารถมองเห็นได้ มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
องค์พิธีหรือพิธีการ มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
องค์มติหรือมโนทัศน์ ความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ
ความสําคัญของวัฒนธรรม
กําหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
รู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดําเนินชีวิต
ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคําอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่งๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
ปรากฏอยู่จริง น้ําทะเลมีรสเค็ม
ขั้นพื้นฐานของบุคคล มี 2 ลักษณะ
ประสบการณ์ตรง
แลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
แบบประเพณี ภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผี
แบบเป็นทางการ หลักคําสอนในพระพุทธศาสนา
ค่านิยมทางสังคม
ครอบครัว เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพล
โรงเรียน สร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็กเป็นอย่างมาก
สถาบันศาสนา ปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สื่อมวลชน รับความรู้และความคิดจากสื่อมวลชนเป็นอันมาก
องค์การของรัฐบาล ตรากฎหมายให้สิทธิและอํานาจแก่ครอบครัว
ในการเลี้ยงดูและอบรมเด็ก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ด้านจิตวิทยา การรับรู้ และการเรียนรู้
สังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม การควบคุมทางสังคม
ด้านบุคคล
ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
อํานาจเหนือธรรมชาติ ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทําของผี
วิธีการดูแลสุขภาพ ใช้การประกอบพิธีกรรม
การแพทย์แผนตะวันตก การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
วิธีการดูแลสุขภาพ วินิจฉัยหาสาเหตุของ ความเจ็บป่วย
ช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
การเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์
ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
วิธีการดูแลสุขภาพ สุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
ระยะคลอดบุตร ท่าทางในการคลอด
วิธีการดูแลสุขภาพ จัดสถานที่และท่าทางในการคลอด ตรวจครรภ์ก่อนคลอด การคลอด
ระยะหลังคลอด ความเชื่อเรื่องกรรม
วิธีการดูแลสุขภาพ การอยู่ไฟ
การเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
การตั้งครรภ์ ภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกําเนิดขึ้นภายในมดลูก
วิธีการดูแลสุขภาพ มารดาและทารกสมบูรณ์แข็งแรง
ทุกระยะของกระบวนการให้กําเนิดได้อย่างปลอดภัย
ความชรา
แบบพื้นบ้าน ภาวะหมดประจําเดือนในเพศหญิง การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
วิธีการดูแลสุขภาพ ใช้สมุนไพร ดูแลอาหาร ดูแลด้านสุขภาพทางเพศ
แบบการแพทย์แผนตะวันตก อายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
วิธีการดูแลสุขภาพ ดูแลด้านโภชนาการ
ดูแลด้านฮอร์โมน ดูแลด้านการออกกําลังกาย
ความตาย
แบบพื้นบ้าน เชื่อในเรื่องวิญญาณ
กฎแห่งกรรม
วิธีการดูแลสุขภาพ สร้างสมความดีและผลบุญ
เพื่อการตายอย่างสงบ เกิดความสุขความเจริญในภพหน้า
แบบแพทย์แผนตะวันตก พิจารณาการหยุด
ทํางานของหัวใจและการทํางานของแกนสมอง
วิธีการดูแลสุขภาพ ยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด
ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหา
การรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม
กับการดูแลสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
สภาวะปกติ
ทําให้คนในสังคมมีสุขภาพดี แข็งแรงสมบูรณ์
กินอาหารประเภทน้ําพริกผักจิ้มและจากธรรมชาติ
ป้องกันโรค บริโภคอาหารปรุงสุก
สภาวะเจ็บป่วย
รักษาโรค
ฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม
กับการดูแลสุขภาพ
ให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
ไม่ได้ให้ประโยชน์ ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดิน
ให้โทษ รับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นโรคอุจจาระร่วง
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพของประชาชน
ภาควิชาชีพ การปฏิบัติการรักษาพยาบาลทางการแพทย์
ภาคพื้นบ้าน
ใช้อํานาจเหนือธรรมชาติ เช่น ไสยศาสตร์
ไม่ใช่อํานาจเหนือธรรมชาติ เช่น สมุนไพร
ภาคประชาชน
ดูแลสุขภาพภาคประชาชนซึ่งถูกปลูกฝังถ่ายทอดกันมาตามวัฒนธรรม
พื้นบ้าน ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วิธีการดูแลสุขภาพ ทําพิธีตั้งขันข้าว เป็นการไหว้ครูเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการรักษา