Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 Thalassemia, ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล, Domain 4 Class 4,…
กรณีศึกษาที่ 2
Thalassemia
การไหลเวียนของหลอดเลือด
ในเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ
เกณฑ์การประเมิน
ผิวหนังไม่มีสีคล้ำ
Hb = 10 - 15.5 g/dL
อัตราการหายใจ 18 - 25 ครั้ง/นาที
Hct = 29 - 59%
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Capillary refill < 2 - 3 วินาที
Conjunctiva สีชมพู
กิจกรรมการพยาบาล
4.กำหนดกิจกรรมที่ผู้ป่วยสามารถกระทำได้ตามความรุนแรงของภาวะซีด
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น วิตามินซี โฟเลท
3.ดูแล จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาและเลือดตามแผนการรักษา
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะซีด
7.ดูแลผู้ป่วยให้ลดและหลีกเลี่ยงความเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ
1.วัดและประเมินv/s สังเกตอาการผิดปกติที่บ่งถึงภาวะพร่องออกซิเจน
8.ป้องกันและลดภาวะติดเชื้อ เพื่อลดการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
9.สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ และภาวะแทรกซ้อนที่อาจ
เกิดขึ้น เช่น อาการหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย ภาวะหัวใจวาย
10.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ และรายงานให้แพทย์ทราบเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
ขณะให้เลือด
ตรวจสอบความถูกต้องของผู้ป่วย ระบุตัวผู้ป่วยให้ตรงกัน 2 ตัวบ่งชี้
ปรับอัตราการหยดของเลือดตามแผนการรักษาหรือตามข้อบ่งชี้การให้เลือด
ตรวจสอบตำแหน่งเข็ม อัตราการไหลของเลือด ฟองอากาศ อย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง
4.ขณะให้เลือด ต้องสังเกตอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติของผู้ป่วย เช่น เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก สัญญาณชีพเปลี่ยน
ก่อนการให้เลือด
1.เขียนใบขอเลือด โดยตรวจสอบกับแผนการรักษาของแพทย์ (ตามกรณีศึกษาให้เลือดชนิด LRPC จํานวน 1 unit (250 ml) V drip in 4 hr.)
เมื่อรับเลือดจากธนาคารเลือด ให้เจ้าหน้าที่พยาบาล 2 คน ตรวจสอบความถูกต้องของถุงเลือด ใบคล้อง เลือด และใบนําส่งเลือดให้ตรงกันทุกจุด ตรวจสอบวันหมดอายุ ลักษณะของเลือด/ส่วนประกอบของเลือด
3.พิจารณาอาการทางคลินิก อาการผิดปกติที่บ่งชี้ในการให้เลือด ได้แก่ อาการหน้ามืดใจสั่น เหนื่อยง่าย
แจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว อาการข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นขณะให้เลือด/ส่วนประกอบของเลือด และแจ้งให้เจ้าหน้าที่พยาบาลทราบทันทีหากมีอาการข้างเคียงเกิดขึ้น
5.วัดสัญญาณชีพ (ชีพจร ความดันโลหิต อุณหภูมิ และอัตรา) เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน ก่อนให้เลือด ไม่เกิน 60 นาที
ให้ Pre-medication ตามแผนการรักษา คือ ให้ CPM 2 mg V push ก่อนการให้เลือด เพื่อต้านการทำงานของ histamine, ให้ Lasix 20 mg ทางหลอดเลือดดำ ก่อนให้เลือด เพื่อป้องกันการเกิดภาวะน้ำเกิน, ให้ Dexamethasone 2 mg ร่วมด้วย เพื่อบรรเทาอาการแพ้ ลดการอักเสบที่รุนแรง
หลังการให้เลือด
1.จัดท่าที่เหมาะสมสะดวกในการเคลื่อนไหวให้ผู้ป่วย
2.จัดสิ่งแวดล้อม ไม่ให้มีสิ่งรบกวน เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
ดูแลบรรเทาอาการไม่สุขสบายจากการให้เลือด เช่น เช็ดตัวลดไข้
ติดตามเฝ้าระวัง วัดสัญญาณชีพ หลังให้เลือดเสร็จทุก 4 ชั่วโมง ทำการบันทึกการให้เลือด ชนิด จำนวน วันที่ให้ และอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือดในบันทึกทางการพยาบาล
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกาย
พร่องออกซิเจน
ประเมินผล
อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที (เลขสมมติ)
ผิวหนังไม่มีสีคล้ำ
Hb = 12 gram/dl (เลขสมมติ)
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Hct = 45% (เลขสมมติ)
ข้อมูลสนับสนุน
Objective data
อัตราการหายใจ 32 ครั้ง/นาที
ผิวหนังมีสีคล้ำ
หายใจหอบเหนื่อย
Hb = 7 gram/dl
อ่อนเพลีย
Hct = 20%
อาการซีดมาก
ให้คำแนะนำผู้ป่วย Thalassemia ที่บ้าน
D method
Treatment
-เฝ้าสังเกตอาการ เช่น ถ้ามีอาการปวดท้องที่บริเวณชายโครงขวาอย่างรุนแรง มีไข้ ตาขาวมีสีเหลืองมาก ควรรีบพบแพทย์ทันที
-แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานยาตามแพทย์สั่ง
Health
-ออกกำลังกายตามความเหมาะสม ระวังการถูกกระแทกที่บริเวณท้องเพราะจะเป็นอันตรายต่อตับและม้ามที่โต
-ดูแลความสะอาดร่างกาย ผิวหนัง ปากและฟัน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค
-ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
-ให้ความรักความเอาใจใส่ เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยดำเนินชีวิตตามปกติ
Environment
-ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุที่จะทำให้เกิดการเสียเลือด และกระดูกหัก เช่น ระวังการผลัดตกหกล้ม
Out patient
-ไปพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ปฏิบัติตามที่แพทย์แนะนำ หากมีข้อสงสัยควรปรึกษาแพทย์ หากมีอาการผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
Medicine
-ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทานยา วิตามิน Folic acid 1 เม็ดรับประทาน และ multivitamin 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง เพื่อการสร้างRBCให้เพียงพอ
Diet
-แนะนำให้หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
-รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และอาหารที่มีโปรตีนสูง
Diagnosis
-อธิบายสาเหตุการเกิดโรคธาลัสซีเมีย ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียกับผู้ป่วยและผู้ปกครอง
พยาธิสรีรวิทยาของโรค
ร่างกายสร้าง globin chain ผิดปกติซึ่งเป็นส่วนประกอบของ Hbในเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ มีอายุสั้น ระดับ Hb ลดลง
เนื้อเยื่อต่างๆได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
มีอาการซีดเรื้อรัง มีภาวะแทรกซ้อนจากการซีด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Domain 4 Class 4
นางสาววิลาวัลย์ นาคสมพงษ์ 6102039