Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 Thalassemia, สิรินทรา วิสาขะ 6102017 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 2
Thalassemia
การให้คำแนะนำผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย
คำแนะนำผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียที่บ้าน(กรณี case ใหม่)
ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยการรับเลือดเป็นประจำ เสี่ยงต่อภาวะเหล็กเกิน
รักษาด้วยยาขับเหล็กควบคู่ไปกับการรับเลือดแบบสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง รวมไปถึงยาเสริมธาตุเหล็กและอาหาร เสริมที่มีวิตามินซีในปริมาณสูง
ผู้ป่วยเด็กมีการเจริญเติบโตของร่างกายน้อยกว่าปกติ มีภูมิคุ้มกันต่าและความหนาแน่นของมวลกระดูกน้อย
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ควรได้รับพลังงานให้เพียงพอ
อาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อปลาทะเล เนื้อไก่ ธัญพืชต่างๆ
ผู้ป่วยอาจขาดสารอาหารหลายชนิด เช่น โฟเลท และสังกะสี
ควรได้รับวิตามินโฟเลท และวิตามินรวม เสริมจากแพทย์
ไม่ควรไปซื้อวิตามินรับประทานเอง เนื่องจากวิตามินรวมบางชนิดจะมีธาตุเหล็กรวมอยู่ด้วย เสี่ยงต่อภาวะเหล็กเกิน
แนะนำให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
เลือกออกกำลังตามความเหมาะสม ไม่แนะนำให้ฝืนหรือหักโหม
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหรือกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
เนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะกระดูกบาง อาจทำให้กระดูกหัก
ว่ายน้ำ เทนนิส แบดมินตัน
การพักผ่อนหย่อนใจ
เลือกกิจกรรมงานอดิเรกที่เหมาะสม ใช้ความคิดสร้างสรรค์ตามความสนใจ ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ไม่ทำให้เกิดความเคร่งเครียด
แนะนำพบทันตแพทย์อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ลดการเกิดโรคในช่องปาก เช่น ฟันผุ โรคเหงือก
ลดภาวะการติดเชื้อ
แนะนำให้ผู้ป่วยฝึกขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา เป็นประจำทุกวัน
ผู้ป่วยควรได้รับวัคซีนเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานให้ครบถ้วน
วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ
ไข้หวัดใหญ่
ไอพีดี
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ อย่างสม่ำเสมอ
รักษาร่างกาย และของใช้ให้สะอาด
รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร และหลังขับถ่าย
กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารสีฉูดฉาด
งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด และการพนัน
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจาปี
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
การมีจิตสานึกต่อส่วนรวม
คำแนะนำสำหรับครอบครัว
แนะนำให้ผู้ปกครองทำความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ,อาการ,แนวทางการรักษา และการดูแล ควรปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์
ควรพาผู้ป่วยไปตรวจตามนัดทุกครั้ง และพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ
พยาบาลเสริมสร้างพลังอานาจ (Empowerment) ให้กับครอบครัว
สร้างการรับรู้ในศักยภาพของตนเอง รับรู้การจัดการครอบครัว
มีการช่วยเหลือพึ่งพา ให้กำลังใจกัน
วางแผนอนาคตของเด็ก มีความรู้ มีทักษะ
ความเชื่อมั่นว่าตนเองสามารถกระทำ ตามสิ่งที่ตนคาดหวังได้สำเร็จ โดยไม่ถือว่าผู้ป่วยเป็นภาระ
การจัดการดูแลเด็กเรื่องการใช้ชีวิตประจำวัน
ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตสังคม
ให้เด็กได้พบปะ สังสรรค์กับเพื่อน
ควรสอนให้เด็กทราบว่าตัวเองมีโรค ประจาตัว เพื่อระมัดระวังและไม่ให้เกิดอันตราย
การรับเลือดสม่ำเสมอ อาจทำให้ผู้ป่วยต้องหยุดเรียนบ่อยครั้ง
ผู้ปกครองจึงควรอธิบายกับโรงเรียนหรือ ยื่นใบรับรองแพทย์เพื่อยืนยันว่าเป็นการหยุดด้วยความจำเป็น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Domain 4 class 4
เสี่ยงต่อการไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลายในเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective data
เด็กชาย อายุ 10 ปี
เป็นโรคธาลัสซีเมีย
น้ำหนัก 20 กก.
มาโรงพยาบาลด้วยอาการซีด อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยหอบ
Objective data
Hb = 7 g%
Hct = 20 %
RR = 32 ครั้ง/นาที
เป้าหมายการพยาบาล
การไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลายในเนื้อเยื่อมีประสิทธิภาพ
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพคงที่
BP = 110/65 mmHg
RR = 20-35 ครั้ง/นาที
อุณหภูมิร่างกาย = 36-37.5 C
Pulse = 75-110 ครั้ง/นาที
ไม่มีอาการแสดงของภาวะซีด
Capillary refill < 2 sec.
ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด
อ่อนเพลีย เหนื่อยหอบ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb = 12 g%
Hct = 36%
ไม่มีอาการผิดปกติระหว่างได้รับเลือด
ไข้หนาวสั่น
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตสูงจากอาการชัก
ซึม
ไม่มีอาการผิดปกติหลังได้รับเลือด
มีไข้,หนาวสั่น
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและบันทึกสัญญาณ ชีพก่อนให้เลือด และขณะรับ เลือดทุก 15 นาทีในชั่วโมงแรก ทุก 30 นาทีใน 1 ชั่วโมงและ หลังได้รับเลือด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการ รักษา ก่อนการให้เลือด
ยา Lasix 20 mg V ก่อนให้ เลือด เพื่อลดVolumeของเลือด ป้องกันภาวะความดันโลหิตสูง
ยา Dexamethasone 2 mg V push ก่อนให้เลือด เนื่องจากมีประวัติการแพ้เลือด แบบ PRC
ยา CPM 2 mg oral ก่อนให้ เลือด เพื่อต้านการทางานของ Histamine
สังเกตและเฝ้าระวัง ผลข้างเคียงจากการได้รับยาตาม แผนการรักษา
ยา Lasix ผลข้างเคียง ได้แก่ ภาวะขาดน้ำ
ยา Dexamethasone ผลข้างเคียง ได้แก่ หายใจตื้น จังหวะหัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่า ปกติ
ยาCPMผลข้างเคียง ได้แก่ ง่วงซึม คลื่นไส้ อาเจียน
ให้การพยาบาลผู้ป่วยจากการ ได้รับผลข้างเคียงของยา
สังเกตภาวะแทรกซ้อนและ บันทึกปริมาณน้าเข้า-ออก
ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้ การพยาบาล เพื่อป้องกัน อุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม
หากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ควรจิบน้าบ่อย ๆ
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ภาวะ HCC เป็น ภาวะความดันโลหิตสูงจากการให้เลือด
ทำให้เกิดอาการชักและมีเลือดออกในสมอง ถ้าผู้ป่วยมี ความดันโลหิตสูงกว่าปกติ 30 mmHg ควรหยุดให้เลือดทันที และรายงานแพทย์
หลังให้เลือดแต่ละถุง 15 นาที ให้วัดสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
เพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงจากการให้เลือด
สังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วย
เหนื่อยหอบ มีไข้ หนาวสั่น ผื่นคัน แน่นหน้าอก ปวดหลัง
ตรวจสอบการไหลของเลือดเป็นระยะเพื่อให้การให้เลือดได้ตามแผนการรักษาและเวลาที่กาหนด
ทำการบันทึกการให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด ชนิด จำนวน วันที่ให้ และอาการของผู้ป่วยหลังการให้เลือดในบันทึกทางการพยาบาล
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
อาการหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย
อาการเขียวบริเวณ ปลายมือปลายเท้า
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ หลีกเลี่ยงการรบกวนผู้ป่วย
8.ป้องกันภาวะติดเชื้อ ซึ่งทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ติดตามและประเมินผลตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้การ พยาบาลอย่างเหมาะสม
ให้เลือดตามแผนการรักษา
ห้ามให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือดร่วมกับสารละลายชนิดอื่น ๆ เช่น 5% D/W
ไม่ผสมยาชนิดใด ๆ ลงไปในเลือดหรือส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือดแต่ละถุงต้องไม่นานเกิน 4 ชั่วโมง
สังเกตและประเมินผู้ป่วย วัดสัญญาณชีพ
ผลการประเมิน
สัญญาณชีพคงที่
BP = 110/65 mmHg
RR = 30 ครั้ง/นาที
อุณหภูมิร่างกาย = 36.5 C
Pulse = 80 ครั้ง/นาที
ไม่มีอาการแสดงของภาวะซีด
Capillary refill < 2 sec.
ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด
ไม่มีอาการอ่อนเพลีย
ไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb = 12 g%
Hct = 36 %
ไม่มีอาการผิดปกติระหว่างและหลังได้รับเลือด
มีไข้,หนาวสั่น
สิรินทรา วิสาขะ 6102017