Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
ระบบประสาทอัติโนมัติ
เป็นระบบประสาทที่อยู่นอกอำนาจการควบคุมของจิตใจ
อัตราการเต้นและแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจไหลเวียนไปส่วนต่างๆของร่างกาย
การบีบและการคัดหลั่งของทางเดินอาหารและทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของระบบประสาทอัติโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก
ทำงานเพื่อต่อสู้ถอยหนี
เพิ่มการใช้พลังงาน
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
เพิ่มcardiac output
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
เพื่อใหพักผ่อนหรือย่อยอาหาร
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
หลอดลมตีบแคบลง
กระเพาะปัสสาวะบีบตัว
เพิ่มการหลั่งกรดและน้ำย่อย
สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก
การแบ่งประเภทของ Adrenergic receptor
α2
พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่างๆ
β1
พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัว
β2
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
α1
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดทางเดินปัสสาวะ
β3
พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
การแบ่งประเภทChonergic receptor
Nicotinic receptor
Muscarcarinic receptor
M1 พบที่สมอง Peripheral neuronและGastric parietal
M2 พบที่หัวใจและบางส่วนของ Peripheral neuron
M3 พบได้ที่กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ
M4 พบที่ระบบประสาท
M5 พบที่Dopamine neuron
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัติโนมัติ
ยาโคลิเนอร์จิค
ยาต้านมัสคารินิค
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก
ยาโคลิเนอร์จิก
Cholinergic agonist
Acetylcholine(Ach)และสารสังเคราะห์ Choline ester
Achจัดเป็นยาต้นแบบของยากลุมนี้
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้น Muscarinic และ Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือด
สารMuscarinic agonistลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ลดความดันโลหิต ลดการเต้นของหัวใจ
ระบบหายใจ
กล้ามเนื้อหลอดลมหดตัว ต่อมในหลอดลม หลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้นถ้าการกระตุ้นมากจะเกิดอาการคล้ายหืด
ระบบทางเดินอาหาร
กล้ามเนื้อปัสสาวะหดตัว เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะเพิ่มการบีบตัวท่อปัสสาวะ คลายกล้ามเนื้อหูรูดและtrigonของกระเพาปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
เพิ่มสารคัดหลั่ง น้ำลาย กรดในกระเพาะอาหาร ต่อมในตับอ่อนและลำไส้เล็ก
ฤทธิ์ต่อตา
ม่านตาหรี่
ระบบประสาทส่วนกลาง
กระตุ้นสมองส่วนcortexมีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้ การเคลื่อนไว ความอยากอาหาร
การนำไปใช้ทางคลีนิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ
ใช้รักษาต้อหิน
ใช้รักษาอาการท้องอืด
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
Bethanechol,pilocarpineชนิดเม็ด
เวียนศรีษะ
เป็นลม
อาเจียน
น้ำลาย น้ำมูก น้ำตาไหล
เหงื่อออก
ปวดปัสสาวะ
ปวดมวนท้อง
pilocarpine แบบหยอด
ตามัว
ระคายเคือง
คันตา
ตาแดง
น้ำตาไหล
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็นโรคหอบ
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
นิ่วทางเดินปัสสาวะ
Anticholinesterase agent (Cholinesterase inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Anticholinesterase
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อmuscarinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบและต่อมของกระเพาะอาหารและทางเดินอาหาร
ผลต่อnicotinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อลาย การบีบตัวของใยกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อมีการสั่นพริ้ว
การนำไปใช้ทาคลีนิก
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้
ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia gravis
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น compititive antagonist
รักษา Alzheimer' disease
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
หายใจลำบาก
หัวใจเต้ช้า
รูม่านตาเล็ก
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด เหงื่อออก
หลอดลมหดเกรง
ปวดท้อง
น้ำลายมาก มีสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมาก
ยาต้านมัสคารินิค
กลไกการออกฤทธิ์
Atropine เป็น muscarinic antiagonistsออกฤทธิ์แย่งกับ Ach
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา
ไม่สามาถควบคุมเลนส์ให้มองภาพได้ชัด
ระบบทางเดินอาหาร
การปิดกั้นmuscarinic receptors ทำให้parasympathetic toneระบบทางเดินอาหารลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
มีฤทธิ์ขยายหลอดลม ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ
ลดความตึงตัวและแรงในการบีบตัวของท่อปัสสาวะ
ต่อมเหงื่อ
atropineทำให้ร่างกายขับเหงื่อน้อยลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว
การนำไปใช้ทางคลีนิก
Antisecretory รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ใช้เป็นAntisparasmodics ยาลดหดเกรงของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้อง
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
ใช้ทางจักษุแพทย์ ทำให้รูม่านตาขยาย
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
ใช้เป็นยายเตรียมก่อนผ่าตัด
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสัน
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
ใช้เป็นยาป้องกันและรักษาอาการเมารถ
ใช้เป็นยาต้านพิษ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ปากแห้ง คอแห้ง
ตาพร่ามัว
ใจสั่น
ร้อนวูบวาบทางผิวหนัง
ท้องผูก
ปัสสาวะลำบาก