Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
PPH
ความหมาย
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตร จากกระบวนการคลอดปกติ
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร จากการผ่าตัดคลอด
ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงที่ลดลงมากกว่าร้อยละ 10 จากก่อนคลอดและ
มีอาการแสดงถึงการช็อกจากการเสียเลือด
1.การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (Primary or earlypostpartum
hemorrhage) หมายถึง เกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดทันทีจนถึง 24 ชั่วโมง หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดใน ระยะหลัง (Secondary or late postpartum
hemorrhage) หมายถึง เกิดขึ้นในระยะ 24 ชั่วโมงจนถึง 12 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุ
Tone คือ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony)
Trauma คือ การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Laceration of the genital tract)
Tissue คือ การมีเศษรก/เนื้อเยื่อหรือ รกค้าง และ
Thrombin คือ ความผิดปกติของการ แข็งตัวของเลือด
ความรุนแรง
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 1,000 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (Very severe or major PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2,500 มิลลิลิตรขึ้นไป
แนวปฏิบัติการป้องกันตกเลือดหลังคลอด (4 Rs)
Reporting and Learning
ส่งเวรกัน (ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย)
สรุปหลังเกิดเหตุการณ์ ทบทวน
Response (การตอบสนอง)
ปฏิบัติการดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว (Rapid response team)
มีระบบที่ชัดเจน (Checklist)
.Recognition and Prevention
1.1 การประเมินปัจจัยเสี่ยง (Risk Assessment) : ตั้งแต่ระยะก่อนคลอด ระหว่างการคลอด และระยะหลังคลอด
1.2 การป้องกัน (Prevention): ป้องกันการตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอดด้วย Universal AMTSL โดยใช้กับผู้คลอดทุกคน ทั้งคลอดเองทางช่อง คลอดและผ่าตัดคลอด
อาการกลุ่มอาการชีแฮน (Sheehan Syndrome)
การดูแลตนเองของกลุ่มอาการชีแฮน
รับประทานยาหรือฮอร์โมนชดเชยที่แพทย์สั่งอย่างสม ่าเสมอตามค าแนะน าของแพทย์
ออกก าลังกายสม ่าเสมอตามควรกับสุขภาพเพื่อให้สุขภาพแข็งแรง
พบแพทย์/ไปโรงพยาบาลตามแพทย์นัด
อาการที่ควรพบแพทย์ก่อนนัด
ผู้ป่วยกลุ่มอาการชีแฮนควรพบแพทย์/ไปโรงพยาบาลก่อนนัดเมื่อมีอาการผิดปกติเช่น รู้สึกเหนื่อย
อ่อนเพลียมากผิดปกติและ/หรืออ่อนล้าโดยหาสาเหตุไม่ได้
ความหมย
การไม่มีน้ำนมไหล เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดและเห็นได้ชัดรวดเร็ว เกิดจากต่อมใต้สมองไม่สามารถสร้างฮอร์โมนในการผลิตน้ำนม
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด เกิดจากต่อมใต้สมองไม่สามารถผลิตฮอร์โมนที่จะไปกระตุ้นรังไข่ให้ สร้างฮอร์โมนเพศหญิงได้
มีอาการฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ/ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมนเช่น มีอาการเดินช้า พูดช้า คิดช้า เซื่องซึม กินจุ อ้วน ผมร่วง เกิดจากต่อมใต้สมองไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไปควบคุมการสร้างฮอร์โมนจากต่อม ไทรอยด์ได้
การท างานต่อมหมวกไตผิดปกติ ทำให้การรักษาสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายเสียไปซึ่งเป็น อันตรายต่อชีวิตได้
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เบื่ออาหาร
การป้องกัน
ป้องกันกลุ่มอาการได้ทางอ้อมคือ ไปฝากครรภ์สม ่าเสมอตามแพทย์นัด และหากมีความผิดปกติระหว่าง
ตั้งครรภ์โดยเฉพาะภาวะเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ ต้องรีบด่วนที่จะปรึกษา แพทย์/ไปโรงพยาบาลก่อนนัด
Hematoma ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเลือดคั่ง
แผลฝีเย็บไม่เรียบ ขอบไม่ชิด
ถ้าเป็นในช่องคลอดผู้ป่วยจะบอกว่ารู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
อาจจะมีปัญหาปัสสาวะ หรือ อุจจาระล าบาก
การรักษา
◦ถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่ รักษาตามอาการ ประคบเย็น ให้ยาลดปวด ยาแก้อักเสบ ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้ ต้องใส่สายสวนปัสสาวะไว้ การศึกษาพบว่าการรักษาตามอาการ ได้ผลดีกว่าการรักษาโดยวิธีผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออก
◦ถ้ามีขนาดเกิน 10 ซม และโตเร็ว ต้องสงสัยว่าอาจจะมีหลอดเลือดแดงฉีกขาดด้วย จึงต้องค่อยสำรวจก้อนเลือดคั่ง หาจุดเลือดออก แล้วผูก ถ้าไม่เห็นอาจใช้วิธีการทำembolization
การดูแลแผลฝีเย็บอย่างถูกวิธี
1.ดูแลแผลฝีเย็บด้วยการประคบเย็นหลังคลอดวันแรก กรณีแผลที่เย็บมีอาการบวม และค่อนข้างเจ็บมากหลังจากนี้ถ้ามารดาหลังคลอดยังมีอาการปวด ให้นอนพักเพื่อคลายกล้ามเนื้อบริเวณฝีเย็บ
2.หากมีอาการเจ็บมากจนนั่งไม่สะดวก ใช้หมอนโดนัทอันโตหรือห่วงยางอันเล็กสำหรับคนเป็นริดสีดวงช่วยได้ดี เพราะบริเวณฝีเย็บเวลาเจ็บจะเจ็บมากเพราะเป็นบริเวณที่ไวต่อความรู้สึก ความตึงเจ็บจะหาย 3 – 4 วัน และมักจะใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์แผลจะหายสนิท
Episiotomy infection
อาการและอาการแสดง
มีอาการแสดงของการอักเสบของแผลฝีเย็บ
เป็นหนอง
แผลแยกหรือไหมที่เย็บแผลหลุด
ความหมาย
เป็นภาวะแทรกซ้อนของแผลที่เกิดจากการตัดฝีเย็บ เป็นการติดเชื้อเฉพาะที่
การตัดหรือฉีกขาดของฝีเย็บระหว่างคลอด เป็นช่องทางที่จะให้เชื้อแบคทีเรียเข้าไป
สาเหตุจากการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ขณะคลอด
ขณะเย็บแผลอาจมีการเปื้อนอุจจาระหรือเพราะมารดาหลังคลอดรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ดีพอ
การประเมินการติดเชื้อ
อาการแดง (Redness)
อาการบวม (Edema)
อาการช ้าเลือด (Ecchymosis)
มีน ้าหรือมีหนอง (Discharge and exudate)
ความสม ่าเสมอของขอบแผล (Approximation) และอาการแสดงจากการกดเจ็บ
รักษา
การรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การเปลี่ยนผ้าอนามัย
Subinvolution of Uterus
อาการและอาการแสดง
น ้าคาวปลามีปริมาณที่มากขึ้น
สีน ้าคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
อาจมีอาการปวดท้องร่วมกับมีไข้
การส่งเสริมให้มีการเข้าอู่ของมดลูก
เลี้ยงทารกด้วยการดูดนมจากเต้า ช่วยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว เข้าอู่เร็วขึ้น
การรักษาอุณหภูมิร่างกายมารดาหลังคลอดให้อบอุ่น
การออกก าลังกายหลังคลอด ช่วยในการขับน ้าคาวปลาท าให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
Phlebitis
ความหมาย
การติดเชื้อของหลอดเลือดด าอักเสบในอุ้งเชิงกราน (Septic Pelvic Thrombophlebitis)
การรักษา
การรักษาการติดเชื้อของหลอดเลือดด าอักเสบในอุ้งเชิงกรานที่ส าคัญ คือ การให้ยาปฏิชีวนะ
อาการและอาการแสดง
◦ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและหรือปวดบริเวณสีข้าง (Flank)
◦มักจะเป็นในวันที่สองหรือสามหลังคลอด
◦โดยอาจจะมีไข้หรือไม่มีก็ได้
mastitis
อาการ
1 more item...
รักษา
1 more item...
เต้านมอักเสบ
อาการ
อาการแสดงของเต้านมอักเสบ
◦ คล าได้ก้อนที่กดเจ็บมากแม้คล าเบาๆผิวหนังเหนือก้อน
◦ ก้อนที่คล าได้อาจแดงหรือไม่แดง
การรักษา
ให้นมแม่ต่อได้ ถ้าให้ดูดไม่ได้ต้องระบายน ้านมด้วยการบีบหรือปั๊ม
◦Needle Aspiration เจาะหลายๆครั้งหรือใส่หลอดสวน (Catheter) ระบายหนอง
◦หลีกเลี่ยง I & D หากต้องผ่าตัดให้ลงมีดตามแนวรัศมีของเต้านมอย่าลงตามขวางเพราะจะตัดท่อน ้านม
◦ยาปฏิชีวนะ
◦ยาระงับปวด
P
Postpartum depression
เป็นโรคซึมเศร้าชนิดหนึ่งที่พบในผู้ป่วยหลังคลอด
◦ มีอาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน มีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
◦ ท าให้ไม่สามารถดูแลทารกได้
อาการแสดง
◦ เศร้า ร้องไห้
◦ ไม่สนใจหรือรู้สึกเบื่อหน่ายในการดูแลลูกหรือสิ่งที่ท าประจ า
◦ รู้สึกผิดที่มีลูกหรือไม่สามารถดูแลลูกได้
◦ รู้สึกว่าตัวเองไร้ค่าเป็นแม่ที่ไม่มีความสามารถ
รักษา
การบำบัดด้วยยา
จิตบำบัด
การให้คำแนะนำในการแก้ปัญหา การดูแลบุตร รวมถึงการปรับตัวในชีวิต สมรส
Postpartum psychosis
รักษา
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)
ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants)
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)
ปัจจัยเสี่ย
มีประวัติเจ็บป่วยในอดีตด้วยโรคไบโพลาร์
มีญาติใกล้ชิด (1
st degree relative) ป่วยด้วยโรคไบโพลาร์
การคลอดก่อนก าหนด