Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง, เเหล่งที่มา ยง ภู่สุวรรณ.2560…
บทที่ 13 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำเเนกประเภททารกเเรกเกิด
การจำเเนกตามน้ำหนัก
Low birth weight infant (LBW infant) 》ทารกนน.ต่ำกว่า 2,500 กรัม (กลุ่มเสี่ยง)
Extremely low birth weight 》 นน.ต่ำกว่า 1,000 กรัม
Very low birth weightv》นน.ต่ำกว่า 1,500 กรัม
Normal birth weight infant (NBW infant)》ทารกนน. 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800-4,000 กรัม
การจำเเนกตามอายุครรภ์
น้อยกว่า 37 ส. 》คลอดก่อนกำหนด(Perterm)
มากกว่า 37-42 ส. 》 คลอดครบกำหนด(Term)
มากกว่า 42 ส.ขึ้นไป 》คลอดเกินกำหนด( Post-term)
ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด
ผิวหนังบางเเละเเดง เหยี่ยวย่น เห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนัง ลายฝ่ามือฝ่าเท้าน้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ กลั้นหายใจเป็นระยะ(Periodic breathing) เขียว เเละหยุดหายใจง่าย(Apnea)
น้ำหนักน้อย เเขนขาเล็ก ศีรษะใหญ่
ร้องเสียงเบา ความตึงตัวของผิวหนังไม่ดี เคลื่อนไหวน้อย การเคลื่อนไหวสองข้างไม่พร้อมกัน มักเป็นเเบบกระตุก
สาเหตุ/ปัจจัยเสริม
มารดาเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ
ครอบครัวมีเศรษฐานะไม่ดี
อายุมารดาน้อยกว่า 16 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
มารดามีภาวะเเทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะเเท้งไตมาสที่ 2 เเละ 3 การติดเชื้อในครรภ์ เช่น หัดเยอรมัน
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีปัญหา
ปัญหาระบบหัวใจ,เลือด
4.1 Patent Ductus Ateriosus (PDA) 》 โรคหัวใจที่มักพบในเด็กทารกเป็นส่วนมาก โดยเกิดจากหลอดเลือดแดงชื่อ "ดักตัส อาร์เทอริโอซัส (Ductus Arteriosus)" ปิดไม่สนิทหลังจากเด็กคลอด
การรักษา
ยา Indomethacin》ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก. ทุก 8 ชม. 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
》BUN > 30 mg/dl,Cr>1.8 mg/dl
》Plt < 60,000
》 Urine< 0.5 cc/kg/hr นานกว่า 8 hr.
》ภาวะ NEC
ยา Ibuprofen 》เพื่อยับยั้งการสร้าง prostaglandin ซึ่งทำให้ PDA ปิด ให้ทุก 12-24 ชม. จำนวน 3-4 ครั้ง สามารถปิดได้ร้อยละ 70
4.2 Neonatal Jaundice หรือ Hyperbilirubinemia 》ภาวะที่มีระดับบิลิรูบินสูงในซีรั่ม (Serum Bilirubin ) สูงกว่า 5 มิลิกรัม/เดซิลิตร เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด เเละอาจส่งผลให้ตัวเหลือง
4.3 Anemia 》ภาวะซีด เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
5.1 IVH (Intraventricular Hemorrhage) 》 ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง คือ ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
5.2 Hydrocephalus 》ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ เป็นภาวะที่มีน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังในโพรงสมองมากเกินไป ทำให้โพรงสมองมีขนาดใหญ่ เกิดการกดทับและทำลายเนื้อสมอง
ปัญหาการติดเชื้อ
3.1 Sepsis》ภาวะที่ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อ โดยทำให้เกิดดการอักเสบขึ้นทั่วร่างกาย
3.2 Necrotizing Enterocolitis (NEC) 》ภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด ในลำไส้เล็กเเละใหญ่ในทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย
สาเหตุ
การได้รับอาหารที่ไม่เหทาะสม เเละเร็วเกินไป
ลำไส้ขาดเลือดมาเลี้ยง ส่งผลให้การย่อยเเละการดูดซึมไม่ดี
ภาวะพร่องออกซิเจน
การพยาบาล
NPO
การเเยกเด็กติดเชื้อ/เเยกผู้ดูเเล
การดูเเลให้ยาปฏิชีวนะตามเเผนการรักษา
การเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อ,ลำไส้ทะลุ
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic technique
ปัญหาทางโภชนาการเเละการดูดกลืน
6.2 NEC (Necrotizing Enterocolitis) 》ภาวะลำไส้เน่าอักเสบ เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
6.3 GER (Gastroesophageal Reflux) 》 ภาวะไหลย้อนกลับของกรด ที่มีระดับความรุนแรงสูงเนื่องจากเกิดภาวะไหลย้อนกลับบ่อยและเป็นเวลานาน
6.1 Hypoglycemia 》 ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจเเละพิษออกซิเจน
2.1 Perinatal asphyxia 》ภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอดของทารกแรกเกิด (Birth asphyxia) หมายถึงทารกที่มีคะแนน Apgar score ที่ 1 นาทีน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7
APGAR Score
Mild asphyxia 》5-7 คะเเนน
Moderate asphyxia 》3-4 คะเเนน
No asphyxia 》8-10 คะเเนน
Severe asphyxia 》0-2 คะเเนน
การแบ่งระดับความรุนแรงเป็น 2 ระดับดังนี้
ระดับน้อยถึงปานกลางหมายถึงทารกที่มี
คะแนน Apgar score ที่ 1 นาที (4-7 คะเเนน )
ระดับรุนแรงหมายถึงทารกที่มีคะแนน Apgar
score ที่ 1 นาที (0-3 คะเเนน)
2.2 Respiratory Distress Syndrome(RDS) 》ภาวะหายใจลำบาก เนื่องจากขาดสารลดเเรงตึงผิว(surfactant)ของถุงลม
อาการเเละอาการเเสดง
หายใจลำบาก(Dyspnea)เร็วกว่า 60 ครั้ง/นาที ปีกจมูกบาน
อาการเขียว (Cyanosis)
อาจมีอันตรายการหายใจล้มเหลวภายใน 24 ชม.เเรกเกิด
การหายใจมีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อทรวงอก(retraction) หายใจมีเสียง Grunting
การวินิจฉัย
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก ลักษณะ ground glass apperance
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเลือดเป็นกรด(ต่อการป้องกัน)
การป้องกัน
มารดาที่เสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดเเต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่เเตก(เฉพาะ 24-37 ส.) 》ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.ก่อนคลอด
Betamethazone 12 mg. ทาง IM ทุก 24 ชม.จนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg. ทาง IM ทุก 12 ชม.จนครบ 4 ครั้ง
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะเเรกเกิด 》เลือดเป็นกรดขัดขวางการทำงานของการสร้างสารลดเเรงตึงผิว
2.3 Apnea of prematurity(AOP) 》การหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
Obstruction apnea 》 ภาวะหยุดหายใจที่มีการดคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบังลม เเต่ไม่มีอากาศผ่านจมูก มีสาเหตุมาจากการงอหรือการเหยียดลำคอเกิน ช่องลำคอไม่เปิดกว้าง
สาเหตุ
การติดเชื้อ
Permaturity
Gastroesophageal reflux
Cental apnea 》 ภาวะหยุดการหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกระบังลม มีสาเหตุมาจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานไม่ดี
2.4 Retinopathy of Prematurity (ROP)》ความผิดปกติในทารกคลอดก่อนกำหนด โดยมีการงอกของเส้นเลือดที่จอประสาทตา
การวินิจฉัย
ตำเเหน่ง(Zone) มี 3 Zone
Zone I 》ระยะวงกลมมีรัศมีเป็นสองเท่าของระยะทางระหว่างขั้วประสาทตา เเละศูนย์กลางจอประสาทตา
Zone II 》จอประสาทตาจากขอบนอกของ Zone I จนถึง nasal ora serrata
Zone III 》 จอประสาทตาจากขอบนอกของ Zone II จนถึง temporal ora serrata
อาการเเละอาการเเสดง
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด(neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตา ที่มีเลือดไปเลี้ยงจอประสาทตาที่ขาดเลือด
ระยะเวลาการตรวจหา ROP
ถ้าไม่พบการดำเนินโรค ตรวจซ้ำทุก 4 ส.
หลังกลับบ้านเเล้วไม่มีการดำเนินโรค นัดมาตรวจซ้ำ
การตรวจครั้งเเรกเมื่อทารกอายุ 4-6 ส.
ถ้าพบ ROP นัดมาตรวจซ้ำทุก 1-2 ส.
2.5 Bronchopulmonary of Dysplasia》โรคปอดเรื้อรังที่พบในเด็กคลอดก่อนกำหนด หรือโรคที่ต้องการออกซิเจนความเข้มข้นสูงเกิน 60 % หรือใช้เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 ชม.
ปัญหาพัฒนาการล้าช้า
การส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อเเม่ลูก
การส่งสายตา(Eye to eye contact)
การสัมผัส(Skin to skin contact)
ปัญหาการควบคุมคุมอุณหภูมิ (Hypothermia) 》 ทารกมีอุณหภูมิน้อยกว่า 36.5 องศาเซลเซียส เเละต้องอยู่ในตู้ Incubator หลังคลอด
ผลกระทบ
ภาวะขาดน้ำ(Dehydration) ,ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia), น้ำหนักลด(Poor Weight Gain )
ภาวะลำไส้เน่า(NEC)
การเพิ่มการเผาผลาญเเละภาวะเลือดเป็นกรด
ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
ภาวะเลือดออก(Bleeding Disorder)
อาการเเละอาการเเสดง
ใบหน้าเเดง ผิวหนังเเละปลายมือปลายเท้าเย็น
หยุดการหายใจ หายใจลำบาก
การวินิจฉัย
การวัดอุณหภูมิเเกนกลางทารก < 36.5 องศาเซลเซียส(ทวารหนัก)
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
ทารกก่อนกำหนด วัด 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3 ซม.
ทางรักเเร้
ทารกก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator 》เพื่อให้อุณหภูมิทารกอยู่ในเกณฑ์ปดติคือ 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ/อัตโนมัติ(Air Servocontrol mode)
ลดการสูญเสียความร้อน เช่น ครอบพลาสติกที่ตัวทารก ใส่หมวกไหมพรม
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มต้นที่ 36 องศเซลเซียส ปรับเพิ่มครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส ทุก 15-30 นาที
วัดอุณหภูมิร่างกายให้ได้ 36.8-37.2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ครั้งติดทุก 4 ชม.
การใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิในตู้อบ
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ(Skin Servocontrol mode)
การปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มต้นที่ 36 องศเซลเซียส ปรับเพิ่มครั้งละ 0.1 องศาเซลเซียส ทุก 15-30 นาที
ลดการสูญเสียความร้อน เช่น ครอบพลาสติกที่ตัวทารก ใส่หมวกไหมพรม
การติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง หลีกเลี่ยงตรงตับ
วัดอุณหภูมิร่างกายให้ได้ 36.8-37.2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ครั้งติดทุก 4 ชม.
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ(36.8-37.2 องศาเซลเซียส)
การจัดอยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม(NTE) 32-34 องศาเซลเซียส
การวัดอุณหภูมิเด็ก(Body temperature) 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
การใช้ warmer,incubator
การหลีกเลี่ยงอยู่ใกล้เเอร์/พัดลม ระวัง"Cold stress"
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
การไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น เเต่ให้พยาบาลสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
การป้องการสูญเสียความร้อนร่างกาย 4 ทาง คือการระเหย, การนำ ,การพา ,การเเผ่รังสี
การตรวจอุณหภูมิร่างกายทารกทุก 4 ชม.เเละปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับทารก
การเช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การดูเเลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดท่านอนศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน 》หายใจเร็ว เขียว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม(chest wall retration) ABG
การให้ออกซิเจน เช่น การให้เครื่องช่วยหายใจ หรือ CPAP
การป้องกันไม่ให้เกิดภาวะเเทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้นเเละอัตราการไหลของออกซิเจน
การให้สารลดเเรงตึงผิวเพื่อทำให้ปอดยืดหยุ่นดีขึ้น ลดการหายใจลำบาก
การรักษาประคองตามอาการ
การให้สารน้ำเเละอาหารอย่างเพียงพอ
ระยะเวลา 1-2 วันเเรกหลังเกิดดูเเลให้งดน้ำงดนมตามเเผนการรักษา โดยจะให้ IFV ทดเเทน
ดูเเลให้อาหารทางปาก เมื่อการหายใจของทารกคงที่ มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ ท้องไม่อืด
การส่งเสริมให้ทารกรับนมมารดามากที่สุด เพราะมีสารอาหารที่ครบถ้วน
4.การดูเเลให้รับสารน้ำเเละสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามเเผนการรักษา
ชั่งน้ำหนักทุกวัน หลังการได้รับสารอาหารเพียงพอน้ำหนักทารกจะเพิ่มขึ้นวันละ 20-30 กรัม
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรคก่อนเเละหลังการพยาบาลทุกครั้ง
อุปกรณ์ต้องสะอาดเเละต้องใช้เฉพาะคน
ดูเเลความสะอาดทั่วไปของร่างกายเเละสิ่งเเวดล้อม
สังเกตอาการติดเชื้อ เเละดูเเลให้ยาปฏิชีวนะตามเเผนการรักษา
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำเเละสารอาหารทดเเทนตามเเผนการรักษา
การเเก้ไขเเละป้องกันสาเหตุที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น ภาวะที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ำ ภาวะหายใจลำบาก
ติตามผล dextrostrix เเละ blood sugar
สังเกตระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น การสั่นระรัวของมือเเละเท้า(Prolonged tremor) ซึม กลั้นหายใจ เขียว ชักเกร็ง
การป้องกันการเกิดเลือดออกเเละโลหิตจาง
ดูเเลทารกได้รับการฉีด Vit K1,Vit E,FeSO4 ตามเเผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ควรฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ติดตามเเละรายงานผล CBC
สังเกตอาการเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่น มีจุดเลือดออกบริเวณผิวหนัง อุจจาระมีเลือดปน อาการซึม ชักในรายที่เลือดออกในสมอง(IVH
การคงไว้ซึ่งสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง เเละอิเลคโทรลัยต์
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำเเละสารอาหารทดเเทนตามเเผนการรักษา
การจดบันทึก Intake เเละ Output อย่างละเอียดเเละถูกต้อง
3 ติดตามผล Blood gas BUN electrolyte urine speific gravity
สังเกตอาการขาดสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง เเละอิเลคโทรลัยต์ เช่น ได้รับการส่องไฟ อาการท้องอืดต้องดูด gastric content ออกทิ้งบ่อยๆ
การป้องกันการการเกิดการเเตกทำลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใชเพลาสเตอร์เกินความจำเป็น
สังเกตอาการเเพ้ หรือการเเตกของผิวหนังหลังการใช้พลาสเตอร์
ระมัดระวังของการรั่วของสารน้ำออกจากหลอดเลือด
ระวัดระวังการใช้สารเคมีกับผิวหนังทารก
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity(ROP)
การดูเเลให้ได้รับออกซิเจนที่จำเป็น
ติดตาม O2 saturation ตลอดเวลา อยู่ระหว่าง 88-95% สำหรับโรคทั่วไป เเละ 98-99% ภาวะทารกสูดสำลักขี้เทา
ดูเเลให้รับยาวิตามินอีตามเเผนการรักษา
การดูเเลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกเเรกเกิด(Developmental care)
การจับทารก โดยการจับทารกเข้าที่จำเป็น ให้การพยาบาลสัมผัสที่นุ่มนวล
ถ้าทารกเเสดงสื่อสัญญาณว่าอยากมีปฏิสัมพันธ์ พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล(soft voice) มองสบตา(eye contact)
การจัดท่า
หลีกเลี่ยงการเหยียดเเขนขา เเต่พยายามให้ทารกนั่ง ขางอเข้าหาลำตัว
การห่อตัวทารกให้เเขนงอ มือทั้งสองข้างอยู่ใกล้ๆปาก
การพยาบาลทารกครบกำหนดที่มีปัญหา
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
Glycogen ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดเเละหลังคลอด เช่น การขาดออกซิเจน อุณหภูมิร่างกายต่ำ
อาการเเละอาการเเสดง
น้ำตาลในพลาสมาต่ำกว่า 40 mg%
ซึม ไม่ดูดนม สะดุ้งผวา สั่น ซีดเขียว
ตัวอ่อนปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ชักกระตุก
การรักษา
ทารกมีอาการเเสดง ร่วมกับระดับน้ำตาลน้อยกว่า 40 มก./ดล. 》ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ เช่น 10% D/W 2มก./ดล. หรือ GIR 5-8 มก./ดล.
ทารกไม่มีอาการ
เเรกเกิด - 4 ชม.》ให้นมใน 1 ชม.เเรก ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 30 นาทีมื้อเเรก ถ้าน้อยระดัยน้อยกว่า 25 มก./ดล. ให้นมเเละติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม.
อายุ 4 - 24 ชม.》ให้นมในทุก 2-3 ชม. ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดก่อนมื้อนม ถ้าน้อยระดัยน้อยกว่า 35 มก./ดล. ให้นมเเละติดตามระดับน้ำตาลในเลือด 1 ชม.
การพยาบาล
กรณีทารกเสี่ยงระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ต้องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด 1-2 ชม.จนระดับน้ำตาลปกติ รีบให้5,10% D/W ทางปาก หรือ NG Tube ใน 1-2 มื้อเเรกให้นม
กรณีน้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจทุก 30 นาที ในรายที่ไม่เเสดงอาการให้กินนมเเละสารละลายกลูโคส
ควบคุมอุณหภูมิห้องเเละดูเเลให้ความอบอุ่นเเก่ทารก
สังเกตอากานเปลี่ยนเเปลง
MAS ภาวะตื่นตัว(vigorous)ของทารก ได้จากการประเมินทารกโดยทีมบุคลากรทางการเเพทย์เมื่อ 10-15 วินาทีหลังเกิด
อาการแสดง
มีเเรงหายใจด้วยตนเองได้ดี
มีกำลังกล้ามเนื้อดี
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที หากเกิดความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง》ทารกจะไม่ตื่นตัว เรียกว่า non vigorous เสี่ยงต่อการสำลักขี้เทา
ความรุนเเรงเเบ่งได้ 3 ระดับ
รุนเเรงน้อย 》หายใจเร็วระยะสั้นๆ เพียง 24-72 ชม. ค่าความเป็นกรด-ด่างปกติ
ปานกลาง 》หายใจเร็วมีความรุนเเรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของซี่โครง ความรุนเเรงสูงสุดเมื่ออายุ 24 ชม.
รุนเเรงมาก 》ระบบหายใจล้มเหลวทันที ภายใน 2-3 ชม.หลังเกิด
การพยาบาล เพื่อได้รับออกซิเจนเพียงพอ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก 2-4 ชม. เฝ้าระวังความดันต่ำจาก PPHN
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการเเสดงของการขาดออกซิเจน เช่น หายใจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน เขียว
ภาวะตัวเหลืองในทารกเเรกเกิด(Hyperbillirubinemia)
สาเหตุ
การสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จากการทำลายของเม็ดเลือดเเดง การติดเชื้อ
การดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ เช่น ลำไส้อุดตัน การเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
การกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีอุดตัน ส่งผลให้ขาดเอนไซต์บางชนิดเเต่กำเนิด
เเบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ(Physiological jaundice) 》ทารกเเรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ดเลือดเเดงมีอายุสั้นกว่า เเละความไม่สมบูรณ์การทำงานของตับ
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ(Pathological jaundice) 》ภาวะที่ทารกมีบิลิรูบินในเลือดสูงมากกว่าปกติ เเละเหลืองเร็วใน 24 ชม.เเรกหลังเกิด
ภาวะเเทรกซ้อนจากการมีบิลิรูบินสูง เกิดภาวะ Kernicterus เข้าเซลล์สมอง》เซลล์สมองได้รับบาดเจ็บเเละมีการตาย ส่งผลให้ทารกเกิดความพิการทางสมองอย่างถาวร
การวินิจฉัย
ประวัติบุคคลในครอบครัวมีเม็ดเลือดเเดงเเตกง่าย มารดามีโรคประจำตัว การติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับม้ามโต จุดเลือดออก
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับบิลิรูบิน, หมู่เลือด ABO Rh , CBC, G-6-PD
การรักษา
การส่องไฟ(phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด(exchange transfusion)
ภาวะเเทรกซ้อนของการรักษาด้วยการส่องไฟ
น้ำหนักตัวลดลง
ภาวะเสียน้ำมาก จากการระเหยของน้ำ ถ่ายเหลว
ผิวหนังคล้ำขึ้น จากการที่ต้องถูกเเสงอัลตราไวโอเลตเป็นเวลานาน
การพยาบาลการรักษาด้วยการส่องไฟ
การปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา(eyes patches) เพื่อป้องกันการระคายเคืองของเเสงต่อตา เช็ดทำความสะอาดตาทุกวัน
ถอดเสื้อผ้าทารกเเละให้ทารกนอนหงาย/คว่ำ เปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชม.เพื่อให้ทุกส่วนสัมผัสเเสง
บันทึกเเละรายงานการเปลี่ยนเเปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตภาวะเเทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟ
ดูเเลทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินอย่างน้อยทุก 12 ชม.
การพยาบาล Exchange transfusion
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
ดูเเลทารกให้ร่างกายอบอุ่น
ขณะการเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก เเละตรวจสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีจนกระทั่งคงที่
สังเกตภาวะเเทรกซ้อน เช่น หัวใจวาย เเคลเซียมต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ เป็นต้น
การดูเเลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมเเละป้องกันการติดเชื้อ
การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
การช่วยการดูดเลทางเดินหายใจเเละการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม
ประเมินการขับถ่ายอุจจาระเเละปัสสาวะ
ประเมินภาวะเเหวะนมเเละการอาเจียน
เฝ้าระวังภาวะเทรกซ้อน เช่น ภาวะตัวเหลือง
การดูเเลทางโภชนการ
เเหล่งที่มา
ยง ภู่สุวรรณ.2560.วารสารกุมารเวชศาสตร์ (THAI JOURNAL OF PEDIATRICS);56:0858-0944
อนุวัตร พลานุสนธ์.2556.บทบาทศัลยศาสตร์ปัจจุบันในการรักษาภาวะลำไส้เน่าตายในทารกเเรกเกิด[ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2563.สืบค้นได้จาก
http://medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective%20review2556/8.Current_surgical_role_in_necrotizing_enterocolitis%20(Anuwat%2019.6.56).pdf
นางสาวสุพรรษา เเย้มวาที เลขที่ 42 รุ่น 36/2