Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญาหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle…
กรณีศึกษา
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญาหาระบบทางเดินหายใจ
:bookmark::คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ตามรูปแบบ D-METHOD
M - Medicine
คือ การแนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับ อย่างละเอียด ข้อบ่งใช้ ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อน
D - Diagnosis
คือการให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ถึงสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหืด เช่น ประวัติโรคหืดในครอบครัว
E - Environment
คือ การจัดสิ่งแวดล้อมของบ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วย วิธีการหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งกระตุ้นที่ทำให้โรคหืดกำเริบ เช่น ทำความสะอาด หลีกเลี่ยงสัมผัสควันบุหรี่
T - Treatment
คือ ทักษะที่เป็นตามแผนการรักษา รวมถึงการเฝ้าสังเกตอาการ เช่น การดูแลให้ผู้ป่วยใช้ยาเป็นประจำทุกวัน สอนและสาธิตการประเมินความรุนแรงของโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน โดยใช้เกณฑ์ของ Siriraj Clinical Asthma Score (SCAS)
H - Health
คือ การส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถร่วมกิจกรรมประจำวันได้เป็นปกติ โดยไม่ให้อาการกำเริบ หากผู้ป่วยต้องการออกกำลังกายควรใช้ยาพ่นขยายหลอดลมก่อนออกกำลังกายประมาณ 15-30 นาที
O - Out patien
t คือ การมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินตลอดจนการส่งตัวผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลต่อเนื่อง เช่น เน้นย้ำให้ครอบครัวผู้ป่วยมาตรวจตามนัด
D – Diet
คือ การเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น ส่งเสริมให้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดอาการแพ้ เพราะหากเกิดอาการแพ้จะทำให้หลอดลมบวม และตีบแคบได้
:red_flag:ข้อวินิจฉัย และ กิจกรรมทางพยาบาล
Domain 4 Class 4 Ineffective breathing pattern (แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ)
กิจกรรมการพยาบาล
:
ประเมินอาการโรคหืดโดยใช้ Siriraj clinical asthma score ของผู้ป่วยเพื่อประเมินระดับความรุนแรงของโรคทุก 2-4 ชั่วโมง
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากลักษณะการหายใจ สัญญาณชีพและวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในกระแสเลือด ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อจะได้ให้การพยาบาลได้ทันท่วงที และรายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบภาวะผิดปกติ
จัดให้นอนศีรษะสูง 45 องศา เพื่อให้ปอดได้ยืดขยายได้เต็มที่และมีการระบายอากาศที่ดี
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ On O2 cannula 3 LPM keep O2 Sat > 95% ตามแผนการรักษา เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้แก่ร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยา
Ventolin 1⁄2 nebulizer + NSS up to 4 ml. NB q 15min x 3 dose then q 1hr
Methylprednisolone 15 mg v q 6 hr.
Beradual 1⁄2 nebulizer + NSS up to 4ml.NB q 6 hr.
Inflammide MDI 1 puff bid.
Ventolin MDI 4 puff with spacer q 4 hr.
ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ 5% DN/3 1000 ml. v 60 ml./hr ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ เนื่องจากผู้ป่วยมีการสูญเสียน้ำเพิ่มขึ้นจากการหายใจหอบเหนื่อย
ติดตามและประเมินผลข้างเคียงจากการได้รับยา ถ้าหากพบความผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์ทันที เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันที
ฟังเสียงปอดเป็นระยะๆ ขณะที่เหนื่อยหอบเพื่อประเมินการหดรัดตัวที่ผิดปกติของหลอดลม
กระตุ้นให้ผู้ป่วยฝึกการหายใจวันละหลายๆ ครั้ง เพื่อให้ผู้ป่วยมีการหายใจที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวลปลอบโยนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาล และลดปัญหากลัวคนแปลกหน้าซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการพยาบาลมากขึ้น
11.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น Chest X-ray
12.เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยตลอด ในระยะแรกๆ หรือ ในขณะมีอาการหอบ หายใจลำบาก โดยช่วยปลอบโยนเพื่อให้คลายความกลัวและความวิตกกังวลซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการหอบน้อยลง
13.ยึดหลักการดูแลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางโดยสนับสนุนให้รอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยทุกขั้นตอน
14.ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมและการหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการหอบหืดกับผู้ป่วยและครอบครัว
ข้อมูลสนับสนุน
Objective Data
Vital sign : RR = 46/min, O2 sat = 93%
เด็กกระสับกระส่าย หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน หอบเหนื่อยขณะพูดและร้องไห้
Mild dry lip , purulent nasal discharge, swelling and redness nasal turbinate, Intercostal retraction, expiratory wheezing and crepitation upper lobe both lung, prolonged expiratory phase
Chest X-ray hyperinflation
skin prick test positive to house dust mite 10x8 mm.
Subjective Data
เมื่ออายุ 1 ปี แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดลมอักเสบ
2 วันก่อน มีไข้สูง ปวดศีรษะ ไอถี่ๆ มีน้ำมูก รับประทานยาลดไข้และยาแก้อักเสบแต่ยังมีไข้ต่ำๆ และอาเจียนปนเสมหะเป็นก้อน
3 เดือนก่อน ไอแห้งๆ และเหนื่อย ส่วนมากจะไอมากเวลากลางคืนโดยเฉพาะช่วงใกล้เช้า
เมื่ออายุ 2 ปี เวลาเล่นหรือหัวเราะ ร้องไห้มากๆ จะมีอาการไอและดูเหนื่อย มีน้ำมูกใสเป็นๆ หายๆ เมื่อสัมผัสอากาศเย็นหรือถูกฝุ่น
3 ชั่วโมงก่อน หายใจหอบเหนื่อย อกบุ๋ม มีเสียงวี๊ด
สิ่งแวดล้อมที่บ้าน ติดตุ๊กตา มีพรมในห้องนอน เลี้ยงแมวเปอร์เซีย 1 ตัว เครื่องนอนซักทุก 3 สัปดาห์
เป้าหมายทางการพยาบาล
: การหายใจมีประสิทธิภาพ
เกณฑ์การประเมิน
Siriraj clinical asthma score ให้อยู่ในเกณฑ์ 0-4 คะแนน : RR < 40/min , ไม่มีเสียงวี๊ด , ไม่มีการดึงรั้ง , ไม่มีอาการหายใจลำบาก , O2sat ≥ 95 %
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Vital sign : RR 22-30/min , O2sat ≥ 95-100 %
ไม่มีอาการกระสับกระส่าย
ปอดขยายตัวปกติ
ฟังปอดไม่มีเสียง wheezing และ crepitation
ไม่เกิดอาการของโรคที่รุนแรง
ไม่มีสารคัดหลั่ง เช่น หนอง ออกจากจมูก
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
:
ผลการประเมินโรคหืดSiriraj clinical asthma score อยู่ในเกณฑ์ 0-4 คะแนน : RR < 40/min , ไม่มีเสียงวี๊ด , ไม่มีการดึงรั้ง , ไม่มีอาการหายใจลำบาก , O2sat ≥ 95 %
ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อย
Vital sign : RR 22-30/min , O2sat ≥ 95-100 %
ผู้ป่วยไม่มีอาการกระสับกระส่าย
Chest X-Ray ปอดขยายตัวปกติ
ฟังปอดไม่มีเสียง wheezing และ crepitation
ไม่เกิดอาการของโรคที่รุนแรง
ไม่มีสารคัดหลั่ง เช่น หนอง ออกจากจมูก
ได้รับยาครบตามแผนการรักษา
:warning:โรคหืด (Asthma)
สาเหตุ
พันธุกรรม
สารก่อภูมิแพ้ เช่น ไรฝุ่น ขน แมลงสาบ
ปัจจัยส่งเสริม เช่น สิ่งระคายเคืองและมลภาวะ
หลอดลมไวต่อสิ่งกระตุ้น --> เกิดการหดเกร็งของหลอดลม --> เยื่อบุผิวบวมและหลั่งมูกในหลอดลมเพิ่มขึ้น --> หลอดลมตีบแคบลง
อาการ
: หอบเป็นๆหายๆ หายใจมีเสียงวี๊ด แน่นหน้าอก ไอ เป็นซ้ำๆ
การรักษา
รักษาอาการหอบ
ควบคุมสิ่งกระตุ้นการแพ้
รักษาโรคหืดระยะยาว
กายภาพบำบัดทรวงอก
Immunotherapy
:pill:ยาที่ใช้
Methylprednisolone : อาการแพ้ที่รุนแรง ลดการอักเสบ
กลไก
: เกิดจากยายับยั้งเอนไซม์ phospholipase A2 ส่งผลให้เกิดการยับยั้งการสร้างสารอักเสบกลุ่ม eicosanoids รวมทั้งยังสามารถยับยั้งการเคลื่อนตัวของเซลล์อักเสบมายังบริเวณที่มีรอยโรคด้วย
อาการไม่พึงประสงค์
: ภาวะคั่งน้ำ เวียนศีรษะ บ้านหมุน ประจำเดือนผิดปกติ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ท้องอืด ไม่สบายท้อง
ยาตัวนี้ทำให้ภูมิคุ้มกันอ่อนลงติดเชื้อได้ง่าย
Prednisolone : รักษาและป้องกันโรคหืด
กลไก
: ยับยั้งการเคลื่อนย้ายเม็ดเลือดขาวไม่ให้เข้าสู่บริเวณที่อักเสบ ซึ่งรบกวนการทำงานของ สารตัวกลางในการตอบสนองการอักเสบ จึงช่วยลดอาการบวม
ภาวะแทรกซ้อน
: อาจก่อให้เกิดกลุ่มอาการคุชชิง (Cushing’s syndrome) และการเจริญ เติบโตล่าช้าในเด็ก กระดูกพรุน กระดูกหัก แผลในกระเพาะอาหาร ต้อหิน ต้อกระจก ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ตับอ่อนอักเสบ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเป็นเวลานาน และผู้ป่วยไตบกพร่อง
Inflammide MDI : โรคหืด
กลไก
: IgE รบกวน arachidonic acid metabolism และกระบวนการสร้าง leukotrienes และ prostaglandins ป้องกันการสร้างและการหลั่ง cytokine จึงลดการกระตุ้น inflammatory cells เพิ่มการตอบสนองของ receptor ที่กล้ามเนื้อเรียบทางเดินหายใจ
อาการไม่พึงประสงค์
: เสียงแหบ ระคายเคืองที่ลิ้นและปาก แสบคอ ปากแห้ง ปวดศีรษะ คลื่นไส้
การรับรสเสื่อมลง กระหาย ท้องเดิน
ควรใช้อย่างสม่ำเสมอและถูกต้องแม้ไม่มีอาการ
Beradual : ขยายหลอดลม
กลไกการออกฤทธิ์
Beradual forte ประกอบด้วยยาขยายหลอดลม 2 ชนิด (1)Ipratropium bromide มีฤทธิ์ยับยั้งการกระตุ้นรีเฟลกซ์ของเส้นประสาท โดยทำปฏิกิริยาร่วมกันของอะเซติลโคลินกับมาสคารินิครีเซพเตอร์ของกล้ามเนื้อผนังหลอดลมทำให้ขยายหลอดลม (2)Fenoterol hydrobromide เป็นยากระตุ้นซิมพาเทติค ออกฤทธิ์กระตุ้นเฉพาะต่อ Beta-2 receptor ทำให้เกิดการขยายตัวของกล้ามเนื้อเรียบของผนังเส้นเลือดและหลอดลมจะช่วยป้องกันการเกิดภาวะหลอดลมหดตัว
อาการไม่พึงประสงค์
: กล้ามเนื้อสั่น กระสับกระส่าย ปากแห้ง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หัวใจเต้นเร็วและใจสั่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่ไวต่อยากลุ่มนี้
ควรใช้ยาเฉพาะเมื่อมีอาการ
Amoxicillin : รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย
กลไก
: ยับยั้งชีวสังเคราะห์ของ mucopeptide ที่เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ของเชื้อแบคทีเรีย มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อที่กว้าง (broad-spectrum) ทั้งต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และแบคทีเรียแกรมลบ
อาการไม่พึงประสงค์
: คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย และต้องแจ้งแพทย์ทันทีหากมีอาการข้างเคียงร้ายแรง ได้แก่ ปัสสาวะมีสีเข้ม อุจจาระมีมูกปนเลือด ลิ้นและคอบวม หายใจลำบาก เลือดออกง่าย เกิดเชื้อราในช่องปาก ตัวเหลือง ตาเหลือง
ผู้ป่วยโรคไตควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
Maxiphed : บรรเทาอาการคัดจมูกน้ำมูกไหล
กลไก
: Maxiphed Alpha-adrenergic receptors บนกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดบริเวณเยื่อบุจมูก ส่งผลให้หลอดเลือดแดงและ ดำเกิดการหดตัว ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงบริเวณที่บวมของเยื่อบุจมูกจึงลดลง ทำให้ลดอาการบวมของเยื่อบุจมูก จึงช่วยบรรเทาอาการคัดจมูก ทำให้การขับสารคัดหลั่งสะดวกขึ้นและทางเดินหายใจโล่งขึ้น
อาการไม่พึงประสงค์
: หายใจไม่ออก หายใจติดขัด หายใจลำบาก หน้าบวม ปากบวม หัวใจเต้นเร็ว แรง หรือเต้นไม่ เป็นจังหวะ
ห้ามใช้ยาที่หมดอายุหรือเสื่อมสภาพ และห้ามแบ่งใช้กับ
ผู้อื่
น
Ventolin : ลดอาการหดของหลอดลมในผู้ป่วยโรคหืด
กลไก
: กระตุ้นเอนไซม์ adenyl cyclase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่กระตุ้นการสร้าง cAMP นำไปสู่การกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ protein kinase A ซึ่งจะยับยั้งการเกิดกระบวนการ
ฟอสโฟรีเลชันของไมโอซิน ส่งผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ และลดระดับความเข้มข้นของแคลเซียมไอออนภายในเซลล์ เป็นผลให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
อาการไม่พึงประสงค์
: เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดศีรษะ
ตะคริว เกิดการแพ้ยาในเด็ก หลอดลมเกิดการหดเกร็งเมื่อใช้ยาในรูปแบบยาสูด
:pencil2:ข้อมูลผู้ป่วย
อาการสำคัญ
: หายใจหอบเหนื่อย อกบุ๋ม มีเสียงวี๊ด 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ไข้สูง ปวดศรีษะ มีน้ำมูก รับประทานยาลดไข้และแก้อักเสบแต่ยังมีไข้ต่ำๆและอาเจียนปนเสมหะเป็นก้อน ทานอาหารได้น้อย
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
หายใจหอบเสียงวี๊ด อกบุ๋ม มารดาพ่นยาขยายหลอดลมไม่ดีขึ้น จึงนำส่งโรงพยาบาล
3 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล
ไอแห้งๆ และเหนื่อย ต้องไปพ่นยา VENTOLIN ที่โรงพยาาลและได้รับยา PREDISOLONE มารับประทาน ไอมากเวลากลางคืนโดยเฉพาะใกล้เช้า มารดาพ่นยา VENTOLIN อาการดีขึ้น