Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalassemia - Coggle Diagram
Thalassemia
Domain 4 Class 4 การไหลเวียนเลือดส่วนปลายในเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
Objective data : อาการซีด , อ่อนเพลีย , หายใจหอบเหนื่อย , RR = 32 ครั้ง/นาที , ผิวหนังมีสีคล้ำ , Hb = 7 gram/dl , Hct = 20%
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย , RR = 18-25 ครั้ง/นาที , ผิวหนังไม่มีสีคล้ำ , Hb = 10-15.5 gram/dl , Hct = 29-59%
กิจกรรมการพยาบาล
วัดและประเมินสัญญาณชีพ สังเกตอาการผิดปกติที่บางถึงภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะซีด ได้แก่ อาการหอบเหนื่อย , อ่อนเพลีย ,
เขียวปลายมือปลายเท้า , ผิวหนังมีสีคล้ำ , Capillary refilled times > 3 sec.
ดูแลให้พักผ่อนและกำหนดกิจกรรมที่ผู้ป่วยทำให้เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง ได้แก่ โปรตีน วิตามินซี โฟเลท อาหารอ่อนย่อยง่าย เช่น บล็อกโคลี่ผัดไก่
ดูแลให้ได้รับยาครบถ้วนตามแผนการรักษา ได้แก่ Laxis , Dexamamethasone , CPM
ลดและหลีกเลี่ยงความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ป้องกันและลดภาวะติดเชื้อ ซึ่งทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรายงายให้แพทย์ทราบเมื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ประเมินผล
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย , RR = 20 ครั้ง/นาที , ผิวหนังไม่มีสำคล้ำ , Hb = 12 gram/dl , Hct = 45%
คำแนะนำผู้ป่วยที่บ้าน
Out patient
เมื่อมีไข้ควรเช็ดตัวลดไข้และให้ดื่มน้ำมากๆ
ไปพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง ปฏิบัติตามที่แพทย์แนะนำ
หากมีข้อสงสัยควรปรึกษาแพทย์
Health
ควรพักผ่อนอย่าเพียงพอง
ดูแลความสะอาดร่างกาย ผิวหนัง ปากฟัน
ออกกำลังกายตามความเหมาะสมกับสภาพร่างกาย ระวังการถูกกระแทกที่บริเวณท้อง
Treatment
แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานยาตามแพทย์สั่ง ไม่ปรับขนาดยาเอง
เฝ้าสังเกตอาการ
Environment
ป้องกันอุบัติเหตุที่จะทำให้เสียเลือดหรือกระดูกหัก
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่ผาดโผน
แนะนำให้ออกกำลังกายเท่าที่จะทำได้ ไม่หักโหม
Medicine
ให้คำแนะนำการกินยา วิตามิน Folic acid และ Multivitamin
Diac
อธิบายสาเหตุการเกิดและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมียกับผู้ปกครอง
Diet
แนะนำให้หลีกเลี่ยงรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และอาหารที่มีโปรตีนสูง
นำหลักฐานเชิงประจักษ์มาประยุกต์ใช้
การปฏิบัติก่อนการให้เลือด
เขียนใบขอเลือด , ตรวจสอบความถูกต้องของถุงเลือด , ตรวจสอบลักษณะของเลือด , พิจารณาอาการทางคลินิก , เลือกใช้ LPRC , แจ้งผู้ป่วยให้ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว , วัดสัญญาณชีพ , ให้ Pre-medication ตามแผนการรักษา
ขั้นตอนการให้เลือด
ตรวจสอบความถูกต้องของผู้ป่วย , ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วม ,
ปรับอัตราการหยดของเลือดตามแผนการรักษา , ตรวจสอบตำแหน่งเข็ม อัตราการไหลของเลือด ฟองอากาศ อย่างน้อย2-3ชั่วโมง
การติดตาม เฝ้าระวัง
หลังให้เลือดแต่ละ 15 นาทีให้วัดสัญญาณชีพ , ตรวจสอบการไหลของเลือดเป็นระยะ , วัดสัญญาณชีพหลังให้เลือดเสร็จทุก 4 ชั่วโมง/อย่างน้อย1วัน
การปฏิบัติหลังการให้เลือด
จัดท่าที่เหมาะสมสะดวกในการเคลื่นไหวพลิกตะแคงหรือกิจกรรมอื่นๆ , ดูแลบรรเทาอาการไม่สุขสบายจากการให้เลือด , จัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ลดสิ่งกระตุ้น