Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรูัที่ 3 การรักษาเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย …
หน่วยการเรียนรูัที่ 3 การรักษาเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย (เรื่องกลุ่มอาการปวดท้อง ปวดหลัง ปวดเอว)
นางสาวสุพัตรา ปุริจันทร์ รหัส601410053-6
-
การเจ็บป่วยเฉียบพลัน มักประกอบด้วยกลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวมากกว่าปกติหรืออุดตัน เช่น ปวดท้อง ถ่ายบ่อย หรือถ่ายเป็นเลือด
-
ส่วนการเจ็บป่วยเรื้อรัง มักประกอบด้วยกลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวน้อยกว่าปกติ เช่น ท้องผูก ฝี ไส้เลื่อน ลำไส้โป่งเป็นถุง
อาการปวดท้อง (Acute abdomen, abdominal pain)
ชนิดของการปวดท้อง
-
Somato-parietal pain การกระตุ้น parietal peritoneum ซึ่งมักเกิดจากการมีเนื้อเยื่อบาดเจ็บหรืออักเสบในตำแหน่งนั้นๆ มักจะระบุตำแหน่งที่ปวดได้ชัดเจน
-
ลักษณะของการปวด
อาการปวดเริ่มจากน้อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆช้าๆ และทุเลาเองช้าๆ เช่นกัน มักพบใน โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือ acute gastroenteritis
มีอาการปวดเป็นๆ หายๆ ที่ความปวดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นอยู่สักครู่แล้วอาการดีขึ้นเอง มักพบใน intestinal colic หรือ biliary colic
อาการปวดท้องมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างช้าๆ โดยอาการไม่ดีขึ้นเลย มักพบใน acute cholecystitis หรือ acute appendicitis
-
-
ความรุนแรง อาการปวดที่รุนแรงมักสัมพันธ์กับโรคที่ค่อนข้างรุนแรงทั้งนี้ต้องอาศัยข้อมูลจากการตรวจร่างกายและห้องปฏิบัติการร่วมด้วย เนื่องจากความทนต่ออาการปวดของแต่ละบุคคลไม่เท่ากัน
การตรวจร่างกาย
-
การตรวจหน้าท้อง
ดูว่าหน้าท้องโป่งตึงหรือไม่ มีแผล หรือ รอยเลือดออกหรือไม่ รวมถึง visible peristalsis ซึ่งจะพบในผู้ป่วยทางเดินอาหาร อุดตัน
ฟัง Bowel sound ในผู้ป่วยทางเดินอาหารอุดตันในระยะแรกจะมีอัตราเพิ่มขึ้น หากมีการอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง อัตราการบีบตัวจะลดลงหรือไม่มีเลย
-
การคลำหรือกด ควรทำในอันดับสุดท้ายเพราะผู้ป่วยจะเจ็บ การคลำอาจพบก้อนหรือจุดกดเจ็บที่อาจช่วยระบุโรค หรือพบภาวะผิดปกติอื่นๆ เช่นหน้าท้องแข็งเกร็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, U/A, electrolyte, BUN, creatinine, Liver function test
การตรวจพิเศษ การตรวจทางรังสี (X-ray Abdomen) คลื่นความถี่สูง (Ultrasound) หรือ(Computerized tomography-CT)
การพยาบาล
-
-
-
-
ดูแลให้NG tube ระบายได้สะดวก ตรวจสอบ บันทึก สี ลักษณะ จำนวน
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา ซึ่งในระยะก่อนการผ่าตัดมักให้ยาที่ลดการเกร็งของกล้ามเนื้อ
-
-
-
โรคนิ่วในถุงน้ำดี
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดนิ่วคนอ้วน,การได้ฮอร์โมน estrogen ,เพศ หญิงพบมากกว่าชาย อายุที่พบบ่อยอายุ 60 ขึ้นไปผู้ป่วยเบาหวาน
อาการของโรคนิ่วในถุงน้ำดี ไข้สูง และมีเหงื่อออก
ไข้เรื้อรัง ตัวเหลืองตาเหลือง หรือที่เรียกดีซ่าน อุจจาระเป็นสีขาว
ปวดมวนท้อง ,เรอเปรียว ,มีลมในท้อง ,อาหารไม่ย่อย
การวินิจฉัย
-
Labs: WBC, BMP, AST/ALT/Alk Phos, Bilirubin, UA
X-Ray ,US ,CT of Abd and plevis to detect other intra-abdominal problems
การรักษา
นิ่วที่มีอาการต้องผ่าตัดเอานิ่วออกวิธีทีนิยมคือการเจาะที่หน้าท้องเป็นรูหลายรูแล้วใส่เครื่องมือเพื่อตัดเอาถุงน้ำดีออกมา วิธีนี้สะดวก เจ็บน้อยกว่าการผ่าตัดแบบเก่า และอยู่ในโรงพยาบาลไม่นาน
นิ่วที่อยู่ในท่อน้ำดีอาจจะเอาออกโดยการทำ Endoscopic retrograde cholangiopancreatography (ERCP) และเอานิ่วออก
อาหารไม่ย่อย(dyspepsia)
สาเหตุ
1.โรคในระบบทางเดินอาหารเองได้แก่ โรคแผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ มะเร็งกระเพาะอาหาร พยาธิในทางเดินอาหาร อาการแสบบริเวณหน้าอก ซึ่งอาจจะเป็นอาการของโรคกรดไหลย้อ
2.โรคที่เกิดจากสิ่งภายนอก ได้แก่ยาต่าง ๆ ที่กิน ยาหลายชนิดจะทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์เป็นส่วนผสม การระคายเคืองจากบุหรี่
-
-
ผู้ที่มีอาการท้องอืดจะรู้สึกปวดท้องส่วนบน ทำให้แน่นท้อง มีลมในท้องต้องเรอบ่อย ๆ บางคนอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อิ่มเร็ว หรืออาจมีอาการแน่นท้อง แม้กินอาหารเพียงเล็กน้อยและแสบบริเวณหน้าอก
แผลในกระเพาะอาหาร(Peptic ulcer)มีการทำลายเยื่อบุผิวกระเพาะหรือลำไส้ส่วนต้น ต่อมาน้ำย่อยและน้ำกรดที่กระเพาะสร้างขึ้นจะย่อยทำลายซ้ำเพิ่มเติมบริเวณนั้นให้เป็นแผลใหญ่ขึ้น กลายเป็นแผลเรื้อรัง
สาเหตุ
-
- การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ได้แก่ แอสไพริน และกลุ่มยาแก้ปวดข้อ (เช่น อินโดเมทาซิน, ไอบูโพรเฟน, นาโพรเซน ฯลฯ)
การสูบบุหรี่ เพิ่มโอกาสของการเป็นแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้น ทำให้การรักษาได้ผลช้า และทำให้เกิดภาวะ แทรกซ้อนได้มากขึ้น
-
อาการ
มักมีอาการปวดท้องเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอก หรือใต้ลิ้นปี่ บางคนอาจค่อนมาทางขวาหรือซ้ายก็ได้ เวลาที่ปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น ก่อนหรือหลังอาหาร บางคนอาจมีอาการเบื่ออาหาร(ไม่อยากกิน เพราะกลัวปวดท้อง) และน้ำหนักลด
ลักษณะการปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าวก่อนเวลาอาหาร บางครั้งอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน หรือเรอเปรี้ยวร่วมด้วย
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยที่แน่นอน ต้องอาศัยการส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลำไส้ หรือเอกซเรย์โดยการกลืนแป้งแบเรียม
อาการแทรกซ้อน ภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือ ลำไส้เล็กส่วนต้น ผู้ป่วยจะมีอาการอาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายอุจจาระดำส่วนมากเลือดจะออกไม่มากและหยุดได้เอง
การรักษา
-
ให้ยาแก้อาการปวดท้อง และลดอาการอาเจียน ถ้ามีอาการปวดท้องรุนแรง ปวดท้องติดต่อกันนานเกิน 6 ชั่วโมง อาเจียนรุนแรง หรือมีอาการท้องแข็ง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ไส้เลื่อน (Hernia)
-
สาเหตุ เกิดจากความอ่อนแอของผนังหน้าท้อง เมื่อมีความอ่อนแอของพังผืด ลำไส้จะเคลื่อนที่ออกจากช่องท้องมาสู่ภายนอก เช่นบริเวณขาหนีบ
-
Direct inguinal hernia ลำไส้เคลื่อนออกจากช่องท้องบริเวณพังผืดที่หย่อนที่สุด โดยมีปัจจัยส่งเสริมคือมีความดันในช่องท้องเพิ่มมากขึ้น เช่นตับแข็งและมีน้ำในช่องท้อง หรือพวกถุงลมโป่งพองไอมากๆ ผู้ที่มีความดันในช่องท้องสูงเช่น การตั้งครรภ์ ไอเรื้อรัง คนอ้วน
อาการที่สำคัญสำหรับไส้เลื่อนทั้งสองชนิดได้แก่ การที่มีก้อนที่บริเวณขาหนีบ บางครั้งลำไส้อาจเคลื่อนกลับเข้าไปในช่องท้องได้ก็จะไม่มีอาการอะไร ถ้าหากกลับเข้าไปในช่องท้องไม่ได้ จะทำให้รู้สึกหน่วงๆ หรือ ปวดเวลายืนหรือเดิน
-
การรักษา การรักษาโรคไส้เลื่อนนี้ขึ้นอยู่กับอาการว่ามากน้อยเพียงใดและเกิดบ่อยครั้งแค่ไหน ศัลยแพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาว่าจำเป็นที่จะต้องผ่าตัดหรือไม่ การรักษาโดยการผ่าตัดทำได้โดยนำลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้องและเย็บซ่อมรูหรือตำแหน่งที่ลำไส้ออกมา
ท้องผูก (Constipation)
โรคที่ทำให้กล้ามเนื้อต่างๆทำงานน้อยลง โดยโรคทางเมตาบอลิสม เช่น เบาหวาน ไตวาย โปแตสเซียมต่ำ แคลเซียมสูง หรือ โรคทางต่อมไร้ท่อ
-
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากท้องผูก hemorrhoid, CA colon
-
Diarrhea
ท้องร่วง ท้องเดิน ท้องเสีย หรือลงท้องคือ มีการถ่ายอุจจาระที่มีจำนวนมากกว่าปกติตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวนมากหรือเป็นมูกเลือด แม้เพียง 1 ครั้งต่อวัน
-
สาเหตุ
- ท้องร่วงจากการติดเชื้อ ทั้งจากเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย โปรโตซัว ปรสิตและหนอนพยาธิ
- ท้องร่วงชนิดไม่มีการติดเชื้อ โรคที่พบได้บ่อยในบ้านเรา
-
โรคนิ่วไต
เกิดจากการที่มีก้อนนิ่วไปอุดตันตามที่ต่างๆ ในทางเดินปัสสาวะ ทำให้มีอาการปัสสาวะขัดกระปริกระปรอย หากเป็นในระยะแรกร่างกายอาจขับก้อนนิ่วออกมาได้เองทางปัสสาวะ ซึ่งจะพบตะกอนเหมือนก้อนกรวดเล็กๆ ปนออกมาพร้อมกับปัสสาวะ
นิ่วที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ นิ่วแคลเซี่ยมฟอสเฟตประมาณร้อยละ 80
สารที่กระตุ้นการก่อผลึกเหล่านี้เรียกว่า “สารก่อนิ่ว” ได้แก่ แคลเซี่ยม ออกซาเลต ฟอสเฟต และกรดยูริก
-
-
ภาวะปวดท้องทางสูตินรีเวช
-
แท้งบุตร (abortion)
การแท้งบุตรหมายถึงการตั้งครรภ์ไม่สามารถดำเนินต่อทำให้เด็ก ออกมาก่อนกำหนดภายใน 20 สัปดาห์ของการการตั้งครรภ์
สาเหตุของการแท้ง
เกิดความผิดปกติของโครโมโซมซึ่งอาจจะเกิดความ ผิดปกติที่ไข่ หรือตัวเชื้ออสุจิ หรือช่วงที่ตัวอ่อนแบ่งตัว เกี่ยวกับฮอร์โมนการติดเชื้อโรคของคุณแม่
การดูแล
ระวังเลือดออก และการติดเชื้อ หากตั้งครรภ์อ่อนแล้วแท้ง ร่างกายก็สามารถขับตัวอ่อนและรกออกหมด แต่หากขับไม่หมดมีเลือดออกจะต้องทำการขูดมดลูก หากพบว่าเลือดออกไม่หยุด และมีไข้สูงหนาวสั่นต้องรีบไปพบแพทย์
-
ถุงน้ำรังไข่หมาย
-
เนื้องอกรังไข่ชนิดหนึ่ง ที่ชื่อ Dermoid cyst เนื้องอกชนิดนี้ มีทั้งส่วนที่เป็นถุงน้ำ และส่วนที่เป็นไขมัน อาจมีเส้นผม มีผิวหนัง ฟัน กระดูก เข้าไปอยู่ในก้อนเนื้องอก
ถุงน้ำช็อกโกแลตในโรคเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่(Endometriosis) โรคนี้มักทำให้ปวดประจำเดือนมากขึ้นทุกเดือน และมีบุตรยาก การตรวจภายใน และการตรวจอัลตราซาวนด์
เนื้องอกรังไข่ชนิดหนึ่ง ที่ชื่อ Cystadenoma Cyst ถุงน้ำชนิดนี้ อาจตรวจพบโดยบังเอิญ หรือมีอาการผิดปกติ เช่นปวดท้อง อืดท้อง อาหารไม่ย่อย เสียดท้อง ตกขาว ปัสสาวะบ่อยฯลฯ ขนาดมักโต มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 7 เซนติเมตร
ถุงน้ำรังไข่ไม่ปกติ มีหลายถุงน้ำในรังไข่ ที่เรียกว่า Polycystic ovarian cyst ผู้ที่เป็นโรคนี้ มักจะอ้วน หน้ามัน มีขนดก ประจำเดือนไม่ปกติ
-