Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาทางสูติกรรม - Coggle Diagram
การใช้ยาทางสูติกรรม
ยาชาเฉพาะที่สกัดกั้นประสาท (Reginol anesthesia)
2.1 การให้ยาชาเฉพาะที่ (Local infiltration)
ในบริเวณที่ตัดฝีเย็บเพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดและสามารถฉีดซ้ำได้เพื่อให้ฤทธิ์ยาอยู่ได้นานการฉีด Epinephine ร่วมด้วย
จะช่วยทำให้หลอดเลือดบริเวณแผลหดตัวลดการสูญเสียเลือดจากแผลได้
ใช้เมื่อตัดฝีเย็บขณะคลอดดทารกโดยการฉีด 1% Xylocaine หรือ 2% Chloroprocaine เข้าไปในชั้น Subcutaneous
2.2 การฉีดยาชาสกัดกั้นประสาทบริเวณข้างปากมดลูก (Paracervical block)
โดยการฉีด Xylocaine 1% จำนวน 5-10 มล. เข้าไปที่บริเวณ Paracervical nurve plexus
ได้ผลดีในการระงับความรู้สึกเจ็บครรภ์ในระยะที่ 1 ของการคลอดจึงต้องใช้วิธีให้ยาชาสกัดกั้นประสาท Pudendal nurve
2.3 การฉีดยาชาสกัดกั้นประสาทพิวเคนดัล (Pudendal nurve block)
โดยการฉีด Xylocaine 1% จำนวน 5-10 มล. เข้าไปที่ Puderdal nurve ที่อยู่บริเวณ Sacrospinous tigament ซึ่งอยู่ใกล้ schial spines
เพื่อควบคุมการรับความรู้สึกบริเวณช่องคลอดส่วนล่างและฝีเย็บเหมาะสมสำหรับระงับปวดในระยะที่ 2 ของการคลอดโดยเฉพาะกรณีที่ต้องช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศ
2.4 การฉีดยาชาเข้าช่องนอกดูรา (Epidural block)
โดยการฉีดยาชาเข้าไปที่ชั้น Epidural space บริเวณ T10-S5 (ในกรณีผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องจะฉีดยาบริเวณ TB-S1 เป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน
โดยการใส่สายยาง (Catheter) เข้าไปในช่องเยื่อหุ้มไขสันหลังชั้นนอกเพื่อเติมยาชาเป็นระยะ ๆ (Continuous epidural block)
เพื่อระงับความเจ็บปวดจากการหดรัดตัวของมดลูกและการคลอด Vaginal and abdominal
สามารถระงับความเจ็บปวดได้ดีตั้งแต่ระยะ Active phase ของระยะที่ 1-ระยะที่ 3 ของการคลอด
การควบคุมความเจ็บปวดขึ้นอยู่กับบริเวณที่สอดสายยางขนาดของยาปริมาณการให้ยาชาและท่าของมารดาเช่นท่านอนราบหรือนอนศีรษะสูง
ข้อดี
มารดาไม่เจ็บครรภ์ทั้งระยะที่ 1,2,3 และการเย็บซ่อมแผล
ข้อเสีย
มารดารู้สึกขาอ่อนแรง ชา อ่อนเพลีย หนาวสั่นไม่สามารถปัสสาวะได้เอง
ในกรณีที่ที่ความผิดปกติของการดูดซึมของยาอาจเกิดความดันโลหิตต่ำชักหรือการรับความรู้สึกลดลง Convulsions or paresthesis
จำเป็นต้องให้ IV Fluid แก่มารดาตลอดเวลา
การดำเนินการคลอดช้าเนื่องจากการหมุนเวียนศีรษะทารกไม่เป็นไปตามกลไกการคลอดปกติจากการหย่อนของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานทำให้ไม่มีความผิดที่จะบังคับให้ศีรษะของทารกหมุนขณะที่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารก
มีอุบัติการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการสูงเนื่องจากมารดาเบ่งคลอดไม่มีประสิทธิภาพเพราะไม่รู้สึกเจ็บครรภ์และไม่มีความรู้สึกอยากเบ่ง
การพยาบาลมารดาที่ได้รับยาควบคุมความเจ็บปวดในระยะคลอด
ประเมินสัญญาณชีพก่อนหลังการให้ยาและในระยะที่ได้รับยาทุก 1 / 2-1 ชั่วโมง
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์และการหดรัดตัวของมดลูกทุกนาทีหรือติดตามด้วยเครื่อง Electronic fetal monitoring
มารดายินยอมรับการบรรเทาปวดด้วยการใช้ยา
ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการคลอดด้วยการตรวจภายในเมื่อสังเกตว่ามดลูกหดรัดดีขึ้นและมีมูกเลือดออกทางช่องคลอด
ประเมินเกี่ยวกับข้อบ่งห้ามในการให้ยา Analgesia of Epidural anesthesia โดยมารดาจะต้องไม่มีความผิดปกติดังนี้ความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด (Coagulation disorders) การติดเชื้อบริเวณที่ให้ยาความดันโลหิตต่ำอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
สังเกตอาการข้างเคียงของยาที่ใช้เช่นคลื่นไส้อาเจียนหนาวสั่นกระสับกระส่ายซึมง่วงไม่รู้สึกตัว
ยาเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก
ยาออกซิโตซิน
ในขณะให้ยาต้องควบคุมการหยดของยาโดยเพิ่มจำนวนหยดทุก 15-30 นาที
ถ้าการหดรัดตัวของมดลูกยังไม่สมบูรณ์ก่อนการควบคุมจำนวนหยดยาต้องประเมินการเต้นของหัวใจทารกวัดความดันโลหิตและการหดรัดตัวของมดลูก
การใช้ยาในระยะรอคลอดเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกโดยผสมยา 10 ยูนิตใน 5% 1000 ซีซีหยดเข้าหลอดเลือดดำในอัตรา 5-10 หยด / นาทีเพื่อให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูกทุก ๆ (Interval) 2-3 นาทีการหดรัดตัวแต่ละครั้ง (Duration) นาน 45-60 นาที
กรณีให้ยานาน 4-6 ชม. ยังไม่เกิดการเจ็บครรภ์ควรหยุดยา
เป็นฮอร์โมนที่สกัดจากต่อมใต้สมองส่วนหลังมีคุณสมบัติช่วยมดลูกหดรัดตัว
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
รกลอกตัวก่อนกำหนด ตกเลือดหลังคลอด และภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นในเส้นเลือด
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย (Tetanic Contraction)
ในระยะหลังคลอดควรให้ยาต่อ
พลอสตาแกลนดิน
วิธีการให้
ทางกล้ามเนื้อให้ขนาด 500 มคก.
ฉีดเข้ากล้ามซ้ำได้ทุก 10-15 นาที
ทางปาก
ทางหลอดเลือดดำโดยผสม 500 มคก. กับน้ำเกลือ 250 mL ห้ทางหลอดเลือดดำใน 20-30 นาที
เหน็บทางช่องคลอด
ผลข้างเคียง
อาเจียน ท้องเสีย
มดลูกแตก การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ใช้เพื่อการชักนำการคลอดมี 2 ชนิด PGF2 และ PSE2
ข้อห้าม
คนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคตับ
methyl ergometrine mateate (methergin) เข้าหลอดเลือดดำหรือกล้ามเนื้อหลังการคลอดรกเพื่อป้องกันก่อนการตกเลือดช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิด cervical Cramp และรกค้าง
ยาบรรเทาความเจ็บปวด
ประเภทของยาที่ใช้เพื่อควบคุมความเจ็บปวดในระยะคลอด
ยาในกลุ่ม Narcotic analgesics เช่น Morphine, Pethicine
ฤทธิ์ของยาในกลุ่มนี้เป็นยาที่มีประสิทธิภาพในการระงับความเจ็บปวดและมีฤทธิ์ในทางสงบประสาท Systemic drug ที่สามารถผ่านรกทำให้มีผลกดการหายใจของทารกในระยะแรกเกิดจากการคลอดที่มารดาได้รับการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อในระยะ 2-3 ชั่วโมงได้จึงควรให้ยาแก่มารดาในระยะก่อนคลอดชั่วโมงหรือ 4 ชั่วโมง
ฤทธิ์ข้างเคียงของยา
คลื่นไส้อาเจียน
กดการหายใจ
การใช้ยาNaloxone (Narcan) มีฤทธิ์เป็น Narotic antagonist สามารถแก้ไขมารดาหรือทารกแรกเกิดที่มีภาวะ Respiratory depression จากการได้รับยาในกลุ่ม Narotic analgesics
การให้ยากลุ่มนี้ในระยะ Latent phase จะลดการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกลดลง
การให้ในระยะ Active phase จะสามารถช่วยให้มดลูกหดรัดตัวขึ้นได้ช่วยลดความวิตกกังวลของมารดาและระดับ CatheColamine ในกระแสเลือดลดลง
การให้ยาควรให้ยาในขนาดที่น้อยที่สุดและมีประสิทธิ์ภาพอย่างเพียงพอ
1.2 ยาในกลุ่ม General Anesthetics เช่น Ketamine hydrochloride (Ketatar)
ขนาดที่ใช้ 0.25-0.5 มิลิกรัม / น้ำหนักตัว 1 กก. ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ห้ามใช้ในมารดาที่มีความดันโลหิตสูงและมีประวัติชักมาก่อนข้อเสียอาจทำให้มีอาการฝันร้ายและถ้าให้ในขนาดสูง ๆ จะกดการหายใจของทารกในครรภ์
1.3 ยาในกลุ่ม Sedative-hypnotics เช่น Barbiturates หรือ Secobarbitat or Seconal
ยาในกลุ่มนี้ฤทธิ์ในการกล่อมประสาทและทำให้มารดารู้สึกผ่อนคลาย
ฤทธิ์ข้างเคียงของยาประเภทนี้ ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่ายและมีนงง
ยาในกลุ่มนี้สามารถผ่านรกได้อย่ารวดเร็วและยังไม่มียาแก้ฤทธิ์ยานี้ที่เหมาะสม
ฤทธิ์ข้างเคียงของยานี้ต่อทารกแรกเกิด
ทำให้ทารกไม่ดูดนมเพราะฤทธิ์ของยากด Sucking reflex
ยาชนิดนี้บางครั้งนำมาใช้ในระยะ Latent phase เพื่อช่วยให้มารดาสามารถพักผ่อนได้
กดระบบประสาทส่วนกลางทารกจะมีอาการง่วงซึมอยู่นาน
1.4 ยาในกลุ่ม Transquilizers
ยาในกลุ่มนี้ช่วยคลายความกังวลและบรรเทาความเจ็บปวดตลอดจนช่วยบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนจาการได้รับยาในกลุ่ม Narotic analgesics ได้
สามารถใช้เพื่อเสริมฤทธิ์ในกลุ่ม Narotic analgesics ได้เช่นการให้ Phenergan 50 mg, และ Sosegon 30 mg, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อมารดาในระยะ Active phase
การใช้ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Prometazine (Phenergan) ขนาดที่ใช้ 25-50 มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามเนื้อ Promazine (Sparine) ขนาดที่ใช้ 25-50 มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามเนื้อ Diazepam (Vaium) ขนาดที่ใช้ 10 มิลลิกรัมฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ฤทธิ์ข้างเคียงของยานี้ต่อมารดา
อาจมีความดันโลหิตต่ำ
มีผลต่อการไหลเวียนเลือดผ่านรกไปสู่ทารกลดลง
ตลอดจนมีอาการง่วงซึมและมีนงง
ผลของยาต่อทารกในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วมากกว่า 160 ครั้ง / นาที (Tachycardia)
หัวใจทารกเต้นผิดปกติชนิด Beat to beat viability จากการตรวจด้วยเครื่อง Electronic fetal heart monitoring
ผลของยาต่อทารกแรกเกิด
กำลังกล้ามเนื้อลดลง (Hypotonia)
ณหภูมิกายต่ำง่วงซึมและดูดนมได้ไม่ดีในช่วง 2-3 วันหลังคลอด
การประเมินสภาพและการพยาบาลมารดาที่ได้รับยาบรรเทาความเจ็บปวดและยากล่อมประสาท
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและความก้าวหน้าของการคลอดในกรณีที่คลอดทารกภายหลังการได้รับยา 2-3 ชั่วโมงควรสังเกตการณ์หายใจของทารกแรกเกิดอย่างต่อเนื่องเพื่อสามารถแก้ไขทารกที่มีภาวะ Respiration depression อย่างรวดเร็ว
สังเกตฤทธิ์ข้างเคียงของยาภายหลังให้ยาแก่มารดาเช่นอาการคลื่นไส้อาเจียนซึมง่วงหัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตต่ำหายใจช้า
การประเมินก่อนและหลังการให้ยาแก่มารดา
เตรียมให้ยา Natoxone แก่มารดาหรือทารกแรกเกิดเมื่อมีภาวะ Respiration depression ตามแผนการรักษา
ประเมินมารดาเกี่ยวกับความต้องการได้รับยาบรรเทาปวดและประสิทธิภาพในการปฏิบัติเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
ภายหลังการใช้ยาควรดูแลให้มารดาได้พักผ่อนในสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบและดูแลความ * ปลอดภัยของมารดาโดยการยกที่กั้นเตียงขึ้นให้เรียบร้อย
การใช้ยาในระยะตั้งครรภ์
การใช้ยาของหญิงตั้งครรภ์ แบ่งเป็น 5 กลุ่มดังนี้
Category C
ทำให้เกิดความผิดปกติต่อตัวอ่อนในครรภ์ของสัตว์ทดลอง
Category D
มีความเสี่ยงในการทำให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์
Category B
สมารถใช้ในระยะตั้งครรภ์ได้
Category X
ทำให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์มากกว่าประโยชน์
Category A
สามารถใช้ในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัย
ยาที่ใช้บ่อยในระยะตั้งครรภ์
3.ยาป้องกันการชัก
ข้อบ่งชี้
ใช้ป้องกันการชักใน severe pre-eclampsia,eclampsia
การบริหารยา
1.Continuous Intravenous infusion
2.Intramuscular ให้ loading dose
อันตราย
ต่อมารดา
absence of reflex
cardiac arrest
respiratory arrest
ต่อทารก
respiratory depression,hypotonia
ควรงดในกรณีต่อไปนี้
reflex ไม่มีหรือลดลง
หายใจน้อยกว่า 16 ครั้งต่อนาที
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100cc./1 hr.
5.Immunoglobulin and Vaccine
Anti-D Immunoglobulin ป้องกันการเกิด isoimmunization
Tetanus toxoid
2.Steroid Hormone
2.1 sex hormone
ป้องกันภาวะแท้งคุกคาม,แท้งเป็นอาจิณ
ป้องกันการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
รักษาการทำงานของ corpus luteum บกพร่อง
ยับยั้งการหลั่งน้ำนม
ทดสอบการตั้งครรภ์
2.2 Corticosteroids
ใช้กระตุ้นปอดทารกในครรภ์ให้สร้างสาร Surfactant ในทารกคลอดก่อนกำหนด
4.Antibiotic
ยาปฏิชีวนะที่ไม่ควรใช้ในไตรมาสแรกและสุดท้าย
Kanamycin มีความผิดปกติที่กระดูก ไต หู
Chloramphenical ทำให้เกิด grey syndrome ในทารก
Gentamycin มีผลต่อไต
Sulfonamide ทำให้เกิด kerniterus ในทารก
Streptomycin ทำให้ทารกหูหนวก
Nitrofurantoin ทำให้เกิด anemia,G6PD ในทารก
Tetracycline ถ้ามารดาได้รับยานี้ 2 เดือนก่อนคลอดจะทำให้ฟันแท้ของทารกมีสีเหลืองน้ำตาล
1.ยาแก้แพ้ท้อง (Antiemetics/Antinauseants)
Major tranquilizer เช่น phenergan
Vitamin B6
Antihistamines เช่น Dramamine, Dymenhydramine