Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ, unnamed (2) -…
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
เรื่องสำคัญในศาสนา 3 ประการ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์
การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมของพระพุทธเจ้า คือการ
ปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทำความชั่วทั้ง
ปวง การบำเพ็ญแต่ความด
ศีล 5
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี ไม่ฆ่าสัตว์
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี ไม่ลักขโมย
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี ไม่ผิดลูกผิดเมีย
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี ไม่พูดปด
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี ไม่ดื่มสุรา
ศาสนาพุทธ
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
นิพพาน (Nirvana)
กฏไตรลักษณ์
กฏของธรรมชาติ
สภาวะ 3 ประการ
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่ง
ทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ำ ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้าเป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ ผู้ให้การ
ดูแล,พยาบาล,รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล เพื่อการบรรเทาเเละดับทุกข์ ตามความสามารถและความเหมาะสม ผู้ป่วยต้องเข้าใจเรื่อง
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
ท่านพระมหาจุนทะก็ได้สาธยายโพชฌงค์ 7ตามที่ท่าน
ฟังมาจากพระพุทธเจ้าอย่างแจ่มแจ้งถวายแด่พระองค์ซึ่งประชวร
พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เวฬุวันทรงประชวรไม่สบายเป็นไข้หนัก ขณะนั้นพระมหาจุนทะได้เข้าไปเฝ้าถวายการอุปัฏฐาก
พระองค์ทรงหายจากอาการประชวรด้วยการ
ฟังท่านพระมหาจุนทะสาธยาย โพชฌงค์นั้น
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พระองค์ได้จัดการและใช้พลังในพระพุทธจริยาที่มีอยู่ประจำวันอยู่แล้วอย่างไรก็ตามการที่พระพุทธองค์ดำรงชีวิตอย่างถูกต้อง กายจิตปกติ
พระพุทธเจ้าเสด็จไปเยี่ยมแล้วได้แสดงโพชฌงค์ให้แก่พระมหาโมกคัลลานะเช่นเดียวกับที่แสดงให้กับพระมหากัสสปะทุกประการ
พระมหาโมกคัลลานะได้สดับโพชฌงค์จากพระพุทธเจ้า
โดยตรง อาพาธก็สงบระงับและหายเป็นปกติในที่สุด
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
โกมารภัจจ์เตรียมยาที่ประณีตด้วยการอบก้านอุบลด้วยยาต่าง ๆ สามก้านแล้ว
นำไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมทั้งอธิบายวิธีเสวยและผลที่จะตามมา
พระอุปวาณะเป็นอุปัฏฐากได้จัดการต้มน้ำ
ร้อนให้พระองค์สรงสนานและละลายน้ำอ้อยด้วยน้ำร้อน พระองค์เสวยก็ทรงหายจากอาการประชวร
หมอชีวกโกมารภัจจ์ได้มาเยี่ยมเเละถวาย
คำแนะนำว่าพระองค์ไม่ควรเสวยพระกระยาหารที่ปรุงด้วยน้ำต้มผักต่าง ๆ
ต่อมาไม่นานนักพระองค์ได้ปฏิบัติตามคำแนะนำ ของหมอชีวกโกมารภัจจ์พระวรกายก็เป็นปกติ
กระปรี้กระเปร่าทรงพระสำราญเหมือนเดิม
การดูแลรักษาด้านสังคม
พระสารีบุตรและพระโมกคัลลานะ ก็จะใช้สมุนไพรที่หาได้ในท้องถิ่นมาเพื่อการดูแลสุขภาพ
พระโมกคัลลานะจึงได้จัดถวายพระสารี
บุตรทันที เมื่อพระสารีบุตรฉัน รากบัวและเหง้าบัวอาการอาพาธก็หายทันท
“โพชฌงคปริตร” เป็นพุทธมนต์สำหรับสวดสาธยายเพื่อให้ผู้ป่วยได้สดับรับฟังแล้วจะได้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ
พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
กำลังใจที่ดีนั้นมีมากถึงระดับหนึ่ง ก็ไม่เพียงแต่ทำให้โรคบรรเทาเท่านั้น แต่อาจจะช่วยรักษาโรคไปด้วยเลย
จิตใจที่พัฒนาให้ดีงามเต็มที่ มีสุขภาพด้านจิตที่สมบูรณ์แล้วกเอาด้านจิตมาช่วยด้านกายได้เต็มท
จิตสุดท้ายของมนุษย์
ได้รับการจูงจิตที่ดีจะส่งผลให้ไปสู่ในภพภูมิที่สูงขึ้นได้ตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3
การเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือการติดเชื้อเอชไอวี
กลยุทธ์ของการรณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ใชวิธีการประชาสัมพันธ์ “รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์”
่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม หมายถึง ผู้ที่รักร่วมเพศ รักเพศเดียวกัน ส่งผลให้เกิดโรคติดต่อต่าง ๆ ได
ศีลข้อ 4
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับ
ภรรยาของตนเอง ทำให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน
ส่งผลด้านร่างกาย ด้ายจิตใจ และส่งผลต่อครอบครัว
ศีลข้อ 2
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ
รู้ไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิด
ความเครียด ความอิจฉาริษยา
อาจถึงขั้นร้ายแรง ต้องรับโทษทางกฎหมาย หรือเครียดจนเกิดโรคทางจิตเวช
ศีลข้อ 5
อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ำดี มะเร็งปอด
สูบบุหรี่มือสอง การได้รับจากผู้สูบมือหนึ่งที่เป็นคนใกล้เคียง และสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ ( pollution
environment) ของระบบทางเดินหายใจ
ศีลข้อ 1
การเลี้ยงสัตว์ ความสามารถในการผลิตมากขึ้นให้เพียงพอกับผู้บริโภคีสารตกค้างก็ยังพบในสัตว์เนื้อแดงที่ผิดปกติ
การบริโภคพืชผัก ก็ควรต้องเลือกผักอินทรีย์ หรือผัดปลอดสาร
“กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์”
ศีลธรรมอันดี ส่งผลดีต่อสุขภาพตนเอง
ครอบครัว และคนที่เรารัก ดั่งพระพุทธเจ้าตรัสว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” คือ การปฎิบัติในทางสายกลาง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
ก่อนจิตจะดับนั้น ต้องมีอารมณ์
กรรมอารมณ์
อารมณ์ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปได้ถ้าอารมณ์ไม่ดีเกิดขืนในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม เวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ในเวลาใกล้จะดับจิตกรรมดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้แล้ว
ปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้านิมิตที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็
ไปดีถ้านิมิตรไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
คตินิมิต
ถ้าจะไปเกิดเป็นมนุษย์ต้องเห็นมารดา ถ้าไปเกิดเป็นเทวดา ก็เห็นปราสาท เห็นวิมาน
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิ
นรก เปรต อสุรกาย ดิรัจฉาน จะต้องเห็นเครื่องหมายที่จะไปเกิด
ความตายตามแนวทางพุทธศาสน
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กันที่แน่นอน
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่ เซลล์ในร่างกายตายวันละ ห้าหมื่นล้านเซลส
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส กล่าวคือ เป็นวิกฤตทางกาย และเป็นโอกาสทางจิตวิญญาณ
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ในทางพุทธศาสนา ถือว่าการหมดลมหายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ แต่ยังไม่นับว่ากระบวนการตายสิ้นสุดลง
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ด
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่น กลัวถูกทอดทิ้ง กลัวเป็นภาระ กลัวตายคนเดียว
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมา
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล แต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคำอำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ควรกล่าวคำอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆ ที่เขาทำให้กับทุกคน
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน ต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ลดความทุกข์ทรมาน
ทำกิจวัตรสำคัญเท่าที่ทำได้
เป็นตัวของตัวเอง
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ความงอกงามแห่งจิตใจ
ของมนุษย์เป็น 3 ขั้น
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
หน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตายในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้นกลัวต่อความพลัดพราก
มีใจปลอดโปร่ง โล่ง สบายและเป็นอยู่ด้วยปัญญาที่
กระทำไปตามเหตุผล
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับ
ยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตาย
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
ผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงาม
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง ท่องบทสวดมนต์หรือเปิดเทปบทสวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง เพื่อส่งให้ตายดีเตือนสติให้มีสติไม่หลงตาย
หากบุคคลนั้นมีปัญญารู้ทันชีวิตและบรรลุธรรมในขณะจิตสุดท้ายตอนจะดับขันธ์
การพยาบาลด้านร่างกาย
ปาก และริมฝีปากแห้งใช้สำลีชุบน้ำสะอาดแตะที่ริมฝีปากแล้วทางด้วยวาสลินหรือสีผึ้ง
สารคีโตนในร่างกายเพิ่มขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายขึ้น
จมูกแห้ง หมั่นทำความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้นไว้
ดวงตาแห้ง ให้
หยอดตาด้วยน้ำตาเทียม
เสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเสมหะ